@article{พรหมรับ_2022, title={ผลการรักษามะเร็งลำไส้ตรงและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด}, volume={19}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/MKHJ/article/view/258056}, abstractNote={<p><strong>วัตถุประสงค์ </strong><strong>:</strong> ศึกษาผลการรักษามะเร็งลำไส้ตรงและปัจจัยที่สัมพันธ์กับผลการรักษาในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด</p> <p><strong>รูปแบบและวิธีวิจัย </strong><strong>:</strong> รูปแบบการวิจัย (Research design) เป็นการศึกษาวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytic study by retrospective data collection) โดยเก็บข้อมูลผู้ป่วยและการรักษาจากเวชระเบียน ฐานข้อมูลการวางแผนการฉายรังสี (Eclipse Treatment Planning System) และการสอบถามอาการทางโทรศัพท์ เก็บข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยมะเร็งลำไส้ตรงตั้งแต่ มกราคม 2554 - ธันวาคม 2564</p> <p><strong>ผลการศึกษา </strong><strong>:</strong> ผลการศึกษาพบว่า Serum CEA มากกว่า 2.5 ng/dL, Post op CMT, Post-op CCRT, Tumor grade, Stage, Resection margin, สัมพันธ์กับ overall survival อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและพบว่าปัจจัยที่สัมพันธ์กับ Disease free survival  ได้แก่ Serum CEA > 2.5 ng/dL , Pre-op CCRT,  Post-op CCRT,  Post-op CMT, Surgery,  Tumor grade, T stage,  Resection margin สัมพันธ์กับ disease  free survival อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติอัตรารอดชีวิต 2 ปี เป็นร้อยละ 76.0 อัตรารอดชีวิต 5 ปี เป็นร้อยละ 13.0</p> <p><strong>สรุปผลการศึกษา </strong><strong>:</strong> จากผลการศึกษานี้ทำให้ทราบว่าผลการรักษามะเร็งลำไส้ตรงที่โรงพยาบาลร้อยเอ็ดอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานสากลที่ยอมรับได้ และนอกจากนั้นทราบถึงปัจจัยที่สัมพันธ์กับ overall survival และ disease free survival นำไปสู่การเลือกการรักษาที่ดียิ่งขึ้น เพื่อประโยชน์ต่อผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ตรงที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลร้อยเอ็ดต่อไป</p>}, number={2}, journal={วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม}, author={พรหมรับ สุขนิตย์}, year={2022}, month={ส.ค.}, pages={186–196} }