TY - JOUR AU - สันธนพัฒน์กุล, กฤษณ์ AU - คนกล้า, มานิตา PY - 2019/07/02 Y2 - 2024/03/29 TI - การศึกษาการฉีดสารแปลกปลอมเข้าอวัยวะเพศที่มารับการรักษาทีโรงพยาบาลเลย JF - วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม JA - MKHJ VL - 13 IS - 1 SE - Articles DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/MKHJ/article/view/200486 SP - 9-17 AB - <p><strong>ภูมิหลังการศึกษา </strong><strong>: </strong>การฉีดสารแปลกปลอมเข้าอวัยวะเพศจัดเป็นปัญหาสาธารณสุข โรงพยาบาลจังหวัดเลยต้องเสียงบประมาณและบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยที่ฉีดสารแปลกปลอมเข้าอวัยวะเพศจำนวนมาก</p><p><strong>วัตถุประสงค์ของการวิจัย&nbsp;</strong><strong>:</strong> เพื่อศึกษาประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการฉีดสารแปลกปลอมเข้าอวัยวะเพศในจังหวัดเลย และเพื่อวิเคราะห์สาเหตุ,แรงจูงใจในการฉีดและหาแนวทางการในการป้องกันมิให้เกิดภาวะนี้ต่อไปในอนาคต</p><p><strong>วิธีการศึกษา :</strong> เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบไปข้างหน้า โดยมีผู้ป่วยที่ฉีดสารแปลกปลอมเข้าอวัยวะเพศ จำนวน 41 คน ที่ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดเอาสารแปลกปลอมที่อวัยวะออกที่โรงพยาบาลจังหวัดเลย ระหว่างเดือนมกราคม 2557 ถึง พฤศจิกายน 2558 โดยเก็บรวบรวมข้อมูล จากการโทรศัพท์ไปสอบถามข้อมูลงานวิจัย อาทิเช่น ข้อมูลทั่วไป,ข้อมูลประวัติการฉีด.ข้อมูลการรักษา แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติ</p><p><strong>ผลการศึกษา </strong><strong>:</strong> ประชากรกลุ่มเสี่ยงในการฉีดสารแปลกปลอมเข้าอวัยวะเพศ คือ ชายช่วงอายุ 31-40 ปี (ร้อยละ 34.1) .ไม่มีประวัติมีโรคประจำตัว (ร้อยละ 73.2). การศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี (ร้อยละ 100). รายได้น้อยกว่า 10,000 บาท/เดือน (ร้อยละ78). อาชีพเกษตรกร (ร้อยละ 48.8)</p><p><strong>บทสรุป :</strong> การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฉีดสารแปลกปลอมเข้าอวัยวะเพศในประชากรกลุ่มเสี่ยงอาจป้องกันมีให้เกิดภาวะนี้ต่อไปในอนาคตได้</p><p><strong>คำสำคัญ </strong><strong>:</strong> ฉีดสารแปลกเข้าอวัยวะเพศ, ประชากรกลุ่มเสี่ยงในการฉีดสารแปลกปลอมที่อวัยวะเพศ</p><p>&nbsp;</p> ER -