TY - JOUR AU - สิงห์คำ, สุนีรัตน์ AU - ชำนาญบริรักษ์, ผดุงศิษย์ PY - 2020/08/28 Y2 - 2024/03/29 TI - การเสริมสร้างพลังภาคีเครือข่ายของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง JF - วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม JA - MKHJ VL - 16 IS - 3 SE - Articles DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/MKHJ/article/view/244943 SP - 149-158 AB - <p><strong>บทนำ :</strong> จากสถิติ เมื่อปี พ.ศ. 2557-2559 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังใน อำเภอแกดำ มีแนวโน้มสูงขึ้นการเสริมสร้างพลังภาคีเครือข่ายของผู้ดูแลใน ผู้ป่วย มีความสำ คัญยิ่ง</p><p><strong>วัตถุประสงค์ :</strong> เพื่อศึกษาการเสริมสร้างพลังภาคีเครือข่ายของผู้ดูแลและผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง</p><p><strong>วิธีดำเนินการวิจัย :</strong> เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participation action research) โดยกลุ่มภาคีเครือข่าย ชมรมโรคไตเรื้อรังภาพครอบครัว เยาวชนต้นแบบจิตอาสาในโรงเรียนและกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 1-3 และผู้ดูแล จำนวน 1,110 คน เครื่องมือการวิจัยคือ แบบสอบถาม การรับรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 1-3 และข้อมูลทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาค่า Creatinine (Cr.) กลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 1-3 จำนวน 270 คน ก่อนและหลังดำเนินการ โดยกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะ ที่ 1-3 และผลการตรวจเลือด Creatinine (Cr.) ของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง เปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินการ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ หาค่าความถี่ (ร้อยละ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าเฉลี่ย</p><p><strong>ผลการศึกษา :</strong> อัตราการกรองของไตค่า eGFR&lt;4ml/min/1.73 ตาร างเมตร ของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 1-3 (270 คน) ร้อยละ 63.33 ลดระยะความรุนแรงมากที่สุด คือ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 3 ร้อยละ 23. 33 ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านความรู้โรคไตเรื้อรัง ก่อนดำเนินการ มีความรู้ ร้อนละ42.6 หลังดำเนินการมีความรู้ เกี่ยวกับโรคไตเรื้อรัง ร้อยละ 83.0 ด้านการรับประทานอาหาร ผู้ป่วยรับประทานอาหารเค็ม ก่อนดำเนินการ ร้อยละ 89.6 (<img title="\dot{\bar{x}}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\dot{\bar{x}}"> = 3.11 S. D =1.411) หลังดำเนินการ มีการรับประทานอาหารเค็มลดลง ร้อยละ 72.6 (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">=1.53 S.D =1.413) ด้านการออกกำลังกายของผู้ป่วยมีการออกกำลังกายต่อสัปดาห์ ก่อนดำเนินการ ร้อยละ 68.9 (<img title="\dot{\bar{x}}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\dot{\bar{x}}"> =1.01 S.D =.783) หลังดำเนินการผู้ป่วยมีการออกกำลังกาย ร้อยละ 93.3 (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> =1.91 S.D =.915) จากสมมุติฐานการมีความรู้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้แสดงว่าเชื่อถือได้ 95%(P=0.05)</p><p><strong>สรุป :</strong> การนำแนวทางปฏิบัติเดียวกันมาใช้ทั้งเครือข่ายสามารถส่งผลการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้มีประสิทธิภาพ และชะลอไตเสื่อม</p> ER -