TY - JOUR AU - ไชยยงค์, นัยนา AU - จันสด , สุภาพรรณ AU - ศรีสาร , ปุณญิสา AU - นวลอ่อน , สุภาวดี PY - 2021/10/15 Y2 - 2024/03/28 TI - รูปแบบการระงับปวดหลังผ่าตัดในห้องพักฟื้นโรงพยาบาลมหาสารคาม ปี 2551 JF - วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม JA - MKHJ VL - 7 IS - 2 SE - Articles DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/MKHJ/article/view/254302 SP - 26-35 AB - <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;โดยปกติความปวดที่เกิดขึ้นหลังการผ่าตัด ทำให้เกิดความปวดชนิดเฉียบพลัน ซึ่งเป็นสาเหตุของความทุกข์ทรมาน การดูแลรักษาความปวดที่มีประสิทธิภาพ จะช่วยลดผลเสียที่เกิดขึ้นทั้งทางร่างกายและจิตใจ&nbsp; อีกด้านหนึ่ง หากการดูแลรักษาความปวดที่ด้อยประสิทธิภาพนอกจากจะทำให้ผู้ป่วยไม่หายปวดแล้ว&nbsp; ยังทำให้ลดการตอบสนองต่อความปวดลดลงนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนได้</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<strong> &nbsp;วัตถุประสงค์ &nbsp;: </strong>&nbsp;การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการค้นหาระดับ ความปวดที่ใช้ใน&nbsp; Post operative pain management guideline ที่ใช้ในแผนกวิสัญญี โรงพยาบาลมหาสารคาม และ เพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลความปวดเพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<strong>&nbsp; &nbsp;วิธีการศึกษา :</strong> ผู้ป่วยจำนวน&nbsp; 365 ราย โดยการสุ่มผู้ป่วยอายุ 10 ถึง 65 ปี&nbsp; &nbsp;และอายุมากกว่า 65 ปี ในระหว่างวันที่&nbsp; 1&nbsp; กรกฎาคม 2551 -&nbsp; 31 ธันวาคม&nbsp; 2551&nbsp; ที่ห้องพักฟื้น โรงพยาบาลมหาสารคาม โดยผู้ป่วยจะได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับการประเมินความปวด ก่อนให้ยาระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย&nbsp; หลังผ่าตัดผู้ป่วยจะได้รับการดูแลตามรูปแบบการให้ยาระงับปวดที่ห้องพักฟื้น</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษา :</strong> พบว่า ผู้ป่วยจำนวน &nbsp;242 รายในกลุ่มอายุ&nbsp; 10 ปีถึง 65 ที่มีน้ำหนัก ³&nbsp; 50&nbsp; กิโลกรัม มีค่าเฉลี่ยการได้รับยาระงับปวดเท่ากับ&nbsp;&nbsp; 0.81&nbsp;&nbsp; มิลลิกรัม/ กิโลกรัม / ชั่วโมง&nbsp;&nbsp; เมื่อเปรียบเทียบความแรงเป็น Morphine และ มีค่า &nbsp;pain score เฉลี่ย เท่ากับ 5.10&nbsp;&nbsp; ส่วนกลุ่มที่มีน้ำหนัก&nbsp; &lt;&nbsp; &nbsp;50&nbsp; กิโลกรัมจำนวน &nbsp;&nbsp;91 ราย มีค่าเฉลี่ยของการได้รับยาระงับปวดเท่ากับ &nbsp;0.99 &nbsp;&nbsp;มิลลิกรัม/ กิโลกรัม / ชั่วโมง&nbsp; และมีค่า pain score&nbsp;&nbsp; เฉลี่ยเท่ากับ&nbsp; 4.8&nbsp;&nbsp; นอกจากนี้กลุ่มผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 65 ปี น้ำหนัก ³ 50&nbsp;&nbsp; กิโลกรัม จำนวน 16 ราย พบว่ามีค่าเฉลี่ยของการได้รับยาระงับปวดเท่ากับ&nbsp; 0.89 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม / ชั่วโมง&nbsp;&nbsp; และค่า pain score เฉลี่ยเท่ากับ&nbsp;&nbsp; 5.31 &nbsp;ส่วนผู้ป่วยที่มีน้ำหนัก &lt; 50 กิโลกรัมจำนวน&nbsp; &nbsp;7 ราย พบว่าได้รับยาระงับปวดเฉลี่ย&nbsp; 0.07 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม / ชั่วโมง &nbsp;และ มีค่า pain score &nbsp;เฉลี่ยเป็น 6.16</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; สรุป :</strong> ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่าปริมาณยาระงับปวดที่ใช้ในผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม ตามรูปแบบการที่กำหนดขึ้นนี้พบว่ายังไม่เพียงพอ คือ มีค่า pain score มากกว่า 4 ในการดูแลผู้ป่วยภายใน 1 ชั่วโมง ด้วยเหตุนี้ควรมีการพัฒนารูปแบบการให้ยาแก้ปวดขึ้นในอนาคต</p> ER -