@article{เดชแก้ว_สามารถกิจ_มาสิงบุญ_2021, title={ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ความเครียดในการดำเนินชีวิต และการสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรม สุขภาพในผู้ใหญ่ที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันภายหลังได้รับ การขยายหลอดเลือดหัวใจ}, volume={29}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Nubuu/article/view/251862}, abstractNote={<p><span class="fontstyle0">            การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ความเครียดในการดำเนิน<br>ชีวิต และการสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมสุขภาพในผู้ใหญ่ที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้ใหญ่<br>ที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ภายหลังได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจ 6-12 เดือน ที่มาตรวจติดตามอาการ ณ<br>แผนกผู้ป่วยนอกคลินิกโรคหัวใจ โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง สังกัดมหาวิทยาลัย i จำนวน 107 ราย สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยการ<br>กำหนดช่วงเวลา เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่าง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 เครื่องมือวิจัยประกอบ<br>ด้วยแบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตน แบบสอบถาม<br>การสนับสนุนทางสังคม และแบบสอบถามความเครียดในการดำเนินชีวิต ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค ที่<br>.85, .87, .95 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย<br>พบว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทาง<br>สถิติ (</span><span class="fontstyle2">r </span><span class="fontstyle0">= .714, </span><span class="fontstyle2">p </span><span class="fontstyle0">< .001; </span><span class="fontstyle2">r </span><span class="fontstyle0">= .639, </span><span class="fontstyle2">p </span><span class="fontstyle0">< .001 ตามลำดับ) และความเครียดในการดำเนินชีวิตสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรม<br>สุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (</span><span class="fontstyle2">r </span><span class="fontstyle0">= -.658, </span><span class="fontstyle2">p </span><span class="fontstyle0"><.001)<br>          ผลการวิจัยเสนอแนะว่า พยาบาลควรออกแบบการส่งเสริมให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ<br>โดยเน้นการเพิ่มการรับรู้สมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนทางสังคม และลดความเครียดในการดำเนินชีวิต เพื่อป้องกัน<br>การกลับเป็นซ้ำและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป</span> </p>}, number={2}, journal={วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา}, author={เดชแก้ว เอกพลพลเดช and สามารถกิจ นิภาวรรณ and มาสิงบุญ เขมารดี}, year={2021}, month={มิ.ย.}, pages={71–80} }