Predicting Factors of Relapse among Persons with a Major Depressive Disorder

Authors

  • Khwanjit Mahakittikun
  • Darawan Thapinta
  • Hunsa Sethabouppha
  • Phunnapa Kittirattanapaiboon

Keywords:

Major depressive disorder, Predictive factors, Relapse

Abstract

Abstract : Major depressive disorder is the diagnosis used when an individual has chronic depression that may reoccur, whereby the affected person may experience a relapse of the illness. In order to prevent relapse of a major depressive disorder, it is essential to identify predictors of a potential relapse. Thus, this case-controlled study sought to ex­amine psychosocial factors that might predict an impending relapse among persons with a major depressive disorder. Seventy-four individuals, diagnosed with a major depressive disorder, participated in the study. The data were analyzed via descriptive statistics and binary logistic regression.

The results revealed stressful life events, self-efficacy for coping with depression, and expressed emotion of family members as significant predictors of an impending relapse of a major depressive disorder. Together these three independent variables explained 52% (Cog and Snell R2) or 69.3% (Nagelkerke R2) of the variance of relapse among the subjects. Although the power of each independent variable in predicting the likelihood of a relapse of the illness was not high, the results support cognitive theory that hypothesizes stressful life events increase one’s likelihood of having a depressive relapse. The findings also support those of previous studies wherein self-efficacy for coping with depression and expressed emotion of family members have been found to be factors that may influence the relapse of a major depressive disorder.

บทคัดย่อ: โรคซึมเศร้าเป็นการวินิจฉัยที่ใช้เมื่อบุคคลมีอาการซึมเศร้าเรื้อรังที่ซึ่งอาจเกิดขึ้นซ้ำได้ โดยผู้ที่ได้รับผลกระทบนี้อาจมีประสบการณ์การกลับเป็นซ้ำของการเจ็บป่วยได้บ่อยครั้งขึ้น เพื่อ ป้องกันการกลับเป็นซ้ำของโรคนี้จึงมีความสำคัญที่ควรระบุถึงตัวทำนายการกลับเป็นซ้ำที่เป็นไปได้ การศึกษานี้เป็นการศึกษาย้อนหลังแบบที่มีกลุ่มควบคุมเพื่อตรวจสอบปัจจัยทางจิตสังคมที่น่าจะใช้ เพื่อทำนายการกลับเป็นซ้ำในผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า โดยมีผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าเข้า ร่วมในการศึกษาจำนวน 74 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ เชิงพรรณนาและสถิติถดถอยโลจิสติค

ผลการศึกษาพบว่าเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียดในชีวิต สมรรถนะแห่งตนในการจัดการ กับอาการซึมเศร้า และการแสดงออกทางอารมณ์ของสมาชิกครอบครัว เป็นตัวทำนายการกลับเป็นซ้ำของโรคซึมเศร้าที่สำคัญ ตัวแปรอิสระทั้ง 3 ตัวร่วมกันอธิบายความผันแปร ของการกลับเป็นซ้ำในผู้ที่ เป็นโรคซึมเศร้าได้ร้อยละ 52 (โดยวิธีของค็อกและสเนลล์ )หรือร้อยละ 69.3 (โดยวิธีของเนเกลเคิร์ก) แม้ว่าค่าอำนาจทำนายของตัวแปรอิสระแต่ละตัว ในการทำนายความเป็นไปได้ของการกลับเป็นซ้ำของการเจ็บป่วยไม่สูงมากนัก แต่ผลการศึกษานี้สนับสนุนทฤษฎีทางปัญญาที่มีสมมติฐานว่าเหตุการณ์ ที่ก่อให้เกิดความเครียดในชีวิตทำให้บุคคลมีโอกาสกลับเป็นซ้ำของโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้น ผลการศึกษา นี้สนับสนุนผลการศึกษาที่ผ่านมาอีกด้วยว่าสมรรถนะแห่งตนในการจัดการกับอาการซึมเศร้า และการ แสดงออกทางอารมณ์ ของสมาชิกครอบครัว เป็นปัจจัยสำคัญที่น่าจะมีอิทธิพลต่อการกลับเป็นซ้ำของ โรคซึมเศร้า

Downloads

How to Cite

1.
Mahakittikun K, Thapinta D, Sethabouppha H, Kittirattanapaiboon P. Predicting Factors of Relapse among Persons with a Major Depressive Disorder. PRIJNR [Internet]. 2013 Feb. 26 [cited 2024 Apr. 19];17(1):68-82. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/6378

Issue

Section

Original paper