@article{Sriratanaprapat_Songwathana_2013, title={Nurses’ Job Satisfaction within the Context of Asian Cultures: A Concept Analysis}, volume={15}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/6542}, abstractNote={<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p>การขาดแคลนพยาบาลวิชาชีพมีอยู่ทั่วไปในโลก ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการมีความพึงพอใจ ในการทำงานที่ต่ำ การมีอัตราการคงอยู่ในงานที่ต่ำและอัตราการผลัดเปลี่ยนงานที่สูงของพยาบาล จากการศึกษาวรรณกรรมในประเทศทางตะวันตก พบว่า เงินค่าตอบแทนของพยาบาลเป็นคุณลักษณะ ที่สำคัญที่สุดของการมีความพึงพอใจในการทำงาน ในขณะที่พยาบาลในเอเชียก็ยังลาออกถึงแม้ว่ามี การเพิ่มค่าตอบแทนในการทำงานที่สูงขึ้น เมื่อวิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจในการทำงานของ พยาบาลในประเทศแถบเอเชียพบว่ายังไม่ได้รับการศึกษาอย่างจริงจัง ดังนั้น บทความนี้จึงมีจุดมุ่งหมาย เพื่อตรวจสอบแนวคิดรวบยอดเกี่ยวกับความพึงพอใจในการทำงานในบริบทวัฒนธรรมเอเชียโดยใช้ หลักวิธีการวิเคราะห์ของวอร์คเกอร์และเอแวนท์ ซึ่งค้นหาวรรณกรรมจากบทความและเอกสาร ระหว่างปี 2543-2553 จากฐานข้อมูล CINAHL, Ebscohost, Sciencedirect, Medline, PsyINFO, Pubmed, and Cochrane Library และคำสำคัญในการค้นหาคือ ความพึงพอใจในการทำงาน การคงอยู่ ในงานของพยาบาลวิชาชีพ และการประเมินคุณสมบัติเครื่องมือวิจัย</p><p>เมื่อศึกษาในบริบทของวัฒนธรรมทางเอเชีย พบว่าคุณลักษณะสำคัญของความพึงพอใจมี 7 ประการ ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคม/ความสัมพันธ์ของบุคคลในที่ทำงาน ภาระงาน ผลตอบแทน สถานภาพ ทางวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมที่ทำงาน การบริหารงาน เอกสิทธ์ของวิชาชีพ โดยพบว่าภาระงาน การสนับสนุน ทางสังคม/ความสัมพันธ์ของบุคคลในที่ทำงานและผลตอบแทน เป็นคุณลักษณะที่มีอิทธิพลกับความ พึงพอใจในการทำงานมากที่สุด รองลงมาคือ การบริหารงาน สิ่งแวดล้อมที่ทำงาน เอกสิทธ์และ สถานะภาพของวิชาชีพ ปัจจัยที่นำไปสู่ความพึงพอใจของพยาบาลในบริบทวัฒนธรรมทางเอเชีย ตามแนวคิดนี้คือ การเป็นพยาบาลวิชาชีพ การจ้างงานและได้ทำงานกับสถานบริการสุขภาพ ผลที่ได้รับ ตามมาจากแนวความคิดนี้คือ การมีผลงานเพิ่ม ระดับความเครียดในที่ทำงานลดลง การคงอยู่ในงาน ของพยาบาลเพิ่มขึ้น คุณภาพการดูแลผู้ป่วยดีขึ้น รายจ่ายองค์กรที่ลดลงในด้านการค้นหาพยาบาล ใหม่และการรักษาความคงอยู่ในงาน การเพิ่มคุณภาพการดูแลสุขภาพของประเทศ และความพึงพอใจ ของผู้ร่วมงาน/นายจ้าง บทความนี้ยังได้นำเสนอกรณีศึกษาที่เป็นแบบอย่าง ทั้งในแบบที่พอยอมรับได้ และแบบที่ตรงกันข้ามกับความหมาย เพื่อแสดงให้เห็นถึงการมีและไม่มีคุณลักษณะบางประการของ แนวคิดตามความหมายของคุณลักษณะนั้นๆ ท้ายที่สุดได้กล่าวถึงข้อควรพิจารณาเกี่ยวกับหลักฐาน ที่ถูกนำมาใช้และอ้างถึงเกี่ยวกับแนวคิดนี้</p><p><strong> คำสำคัญ :</strong> ความพึงพอใจในการทำงานในบริบทวัฒนธรรมเอเชีย, บทวิเคราะห์แนวคิด, วิธีการของวอร์คเกอร์และเอแวนท์</p><p> </p><p><strong>Abstract</strong></p><p>There is a nursing shortage throughout the world. Part of this shortage appears to be due to nurses’ low job satisfaction, low retention and high turnover. Within Western countries, a nurse’s salary has been recognized as the most important job satisfaction attribute. However, nurses, throughout Asia, resign their jobs despite receiving an increase in salary. In addition, the concept of job satisfaction has not been examined extensively among nurses in Asian countries. Therefore, the aim of this concept analysis was to examine, using Walker and Avant’s approach to analysis, the concept, job satisfaction within the context of Asian cultures. A literature search of articles, published between 2000 and 2010, was performed using CINAHL, Ebosohost, Sciencedirect, Medline, PsyINFO, Pubmed and Cocrane Library. The key words used, in the search, were job satisfaction, nurse retention and psychometric assessment.</p><p>Seven defining attributes for job satisfaction, within the context of Asian cultures, were revealed, including: social support/relationships, workload, incentives, professional status, work environment, administration, and autonomy. Social support/relationships, workload, and incentives were found to be the most influential attributes of job satisfaction within the context of Asian cultures, followed by professional status, work environment, administration, and autonomy. Antecedents of the concept were found to include being: a professional nurse; gainfully employed; and, employed within a health care setting in an Asian culture. Consequences of the concept were identified as: likelihood of increased work productivity; decreased levels of workplace stress; increased nurse retention within the workplace; increased quality of patient care; decreased organizational expenditures on nurse recruitment and retention efforts; increased quality of national health care; and, increased co-worker/employer satisfaction. Cases (model, borderline and contrary) are presented for the purpose of demonstrating the presence and/or absence of the concept’s defining attributes. Finally, empirical referents for assessing the presence of the concept are presented and discussed.</p><p><strong>Keywords :</strong> Job satisfaction within the context of Asian cultures, Concept analysis, Walker & Avant’s approach</p>}, number={1}, journal={Pacific Rim International Journal of Nursing Research}, author={Sriratanaprapat, Jarurat and Songwathana, Praneed}, year={2013}, month={Feb.}, pages={57–73} }