TY - JOUR AU - Daramas, Tipawan AU - Chontawan, Ratanawadee AU - Yenbut, Jarassri AU - Wittayasooporn, Jariya AU - Nantachaipan, Pikul PY - 2013/02/06 Y2 - 2024/03/28 TI - Enhancing Nursing Practice in Developmental Care for Preterm Infants JF - Pacific Rim International Journal of Nursing Research JA - PRIJNR VL - 12 IS - 2 SE - Original paper DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/5880 SP - 83-94 AB - <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมการปฏิบัติพยาบาลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการใน ทารกเกิดก่อนกำหนด โดยใช้การวิจัยเซิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติพยาบาล ผู้ร่วมวิจัยเป็นพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานครจำนวน 30 คน การเก็บข้อมูลใช้หลายวิธี ร่วมกัน ผลการศึกษาพบว่า การส่งเสริมการปฏิบัติพยาบาลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการในทารกเกิด ก่อนกำหนด เป็นกระบวนการเสริมพลังอำนาจซึ่งประกอบด้วย 3 องค์ประกอบคือ พยาบาล ผู้บริหารและทีมสุขภาพ และนโยบายของโรงพยาบาล ในส่วนขององค์ประกอบด้านพยาบาล ประกอบด้วยกลยุทธ์ 6 วิธีคือ 1) การให้ความรู้และฝึกทักษะการปฏิบัติ 2) การเปิดโอกาสในการ แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ 3) การกระตุ้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4) การเปิดโอกาสในการ สร้างนวัตกรรม 5) การจูงใจ และ 6) การกระตุ้นให้มีการปฏิบัติเพื่อส่งเสริมพัฒนาการในทารกเกิด ก่อนกำหนดอย่างสมํ่าเสมอ ผลลัพธ์ของกระบวนการในการส่งเสริมการปฏิบัติพยาบาลเพื่อส่งเสริม พัฒนาการในทารกเกิดก่อนกำหนดสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 &nbsp;ประเด็นคือ 1) การเปลี่ยนแปลง ในทางที่ดีของพยาบาล และ 2) การสร้างนวัตกรรม ความรู้ที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางสำหรับนักวิจัยทางการพยาบาลในการศึกษาแนวทางในการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติพยาบาล และการส่งเสริมพัฒนาการในทารกเกิดก่อนกำหนด</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; This study aimed to enhance nursing practice in developmental care for preterm infants. A participatory action research (PAR) model was used as a catalyst for changing nursing practice. Participants were 30 neonatal nurses working in a neonatal intensive care unit (NICU) at a university hospital in Bangkok. Data was collected using multiple methods. The findings revealed that enhancing nursing practice in developmental care for preterm infants was an empowering process which covered three components: nurses, administrators and the health care team and hospital policy. The nurses’ component comprised six strategies: 1) the provision of knowledge and practice skills; 2) the provision of opportunities for sharing knowledge and experiences; 3) the encouraging of self-directed learning; 4) the provision of opportunities for creative innovations; 5) motivation; and 6) the encouraging of regular developmental care practice. The outcomes of the process of enhancing nursing practice in developmental care could be categorized into two themes: 1) positive changes of nurses and 2) innovation. The knowledge gained from this study will provide guidance for future nursing research into ways of enhancing nursing practice, and thereby improve developmental care for preterm infants.</p> ER -