TY - JOUR AU - Taboonpong, Sunuttra AU - Puthsri, Napatharin AU - Kong-In, Wipawee AU - Saejew, Aimorn PY - 2013/02/06 Y2 - 2024/03/28 TI - The Effects of Tai Chi on Sleep Quality, Well-Being and Physical Performances among Older Adults JF - Pacific Rim International Journal of Nursing Research JA - PRIJNR VL - 12 IS - 1 SE - Original paper DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/5887 SP - 1-13 AB - <p>&nbsp;&nbsp; &nbsp; ความเสื่อมถอยทางสรีรวิทยาของผู้สูงอายุทำให้ผู้สูงอายุต้องพบกับปัญหาหลายประการ เช่น โรคเรื้อรัง สมรรถภาพทางกายถดถอย และความผิดปกติทางอารมณ์ การฝึกไทชีได้รับการยอมรับว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้สูงอายุทั้งจิตใจและร่างกาย แต่การศึกษาวิจัยถึงผลดีของไทชียังมีจำกัด การศึกษานี้ใช้แบบวิจัยกึ่งทดลองที่มีการทดสอบก่อน-หลังและมีกลุ่มควบคุม มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาผลของการฝึกไทชีที่มีความเข้มในการฝึกไม่มาก และช่วงระยะเวลาการฝึกสั้น ต่อคุณภาพการนอนหลับ ความผาสุข และสมรรถภาพทางกาย กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกจากผู้สูงอายุที่พักอาศัยในสถานสงเคราะห์ของรัฐ ตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวนกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 25 คน กลุ่มทดลองฝึกไทชีอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละครั้ง แต่ละครั้งใช้เวลานาน 20 นาที ติดต่อกันเป็นเวลา 12 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมมีกิจกรรมตามปกติไม่มีการฝึกไทชี เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามคุณภาพการนอนหลับของพิสเบริก และแบบสอบถามความผาสุก สำหรับสมรรถภาพทางกายที่ศึกษาประกอบด้วยการยืนยกขาขึ้น-ลงกับที่เป็นเวลา 2 นาที ความจุปอด และการนั่งตัวงอ ซึ่งได้รับการทดสอบจากเจ้าหน้าที่ของการกีฬาจังหวัด&nbsp; กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการประเมินตัวแปรผลลัพท์ดังกล่าว 2 ครั้งคือในสัปดาห์แรกและสัปดาห์ที่14 ของการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทีอิสระและทีคู่<br>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp; ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มการทดลองและกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างด้านคุณลักษณะประชากร และตัวแปรผลลัพธ์ก่อนการทดลอง ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีการเปลี่ยนแปลงของคะแนนคุณภาพการนอนหลับ(p&lt;. 01) และจำนวนครั้งของการยกขาขึ้น-ลง มากกว่ากลุ่มควบคุม&nbsp;<span style="display: inline !important; float: none; background-color: transparent; color: #000000; cursor: text; font-family: 'Noto Sans',Arial,Helvetica,sans-serif; font-size: 14px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: 400; letter-spacing: normal; orphans: 2; text-align: left; text-decoration: none; text-indent: 0px; text-transform: none; -webkit-text-stroke-width: 0px; white-space: normal; word-spacing: 0px;">(p&lt;.05)</span> สำหรับค่าความเปลี่ยนแปลงของความผาสุก ความจุปอด และการนั่งตัวงอระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าการฝึกไทชีในระดับความเข้มต่ำเป็นเวลา 12 สัปดาห์ สามารถเพิ่มคุณภาพการนอนหลับ และยืดหยุ่นกล้ามเนื้อหลังและขาของผู้สูงอายุ</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The elderly face physiological decline leading to problems such as chronic illness, poor physical performance and emotional disturbance. The practice of Tai Chi is generally considered psychologically and physiologically beneficial for older adults but scientific reports on its benefits are still limited. This quasi-experimental study, a pre-post test with control group design investigated the effects of low intensity and short term Tai Chi practice on sleep quality, general well-being and physical performance. The subjects were purposefully selected from elders who lived in residential care facilities in accordance with the study inclusion criteria.There were 25 elders in each experimental and control group. The experimental group engaged in 22 minutes Tai Chi training at least three times a week for 12 weeks. The control group engaged in their usual activities, without Tai Chi. The Pittsberg Sleep Quality Index (PSQI) and General Well-Being Scale (GWBS) questionnaires were used to assess the subjects’ sleep quality and well-being. The physical performances including 2 minutes step test, lung capacity, and sit and reach test were measured by a professional staff from a Provincial Sport Authority.</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; These measures were taken at the first and fourteenth weeks of the study. Independent and paired t-tests were used in data analysis. The two groups had no difference in personal characteristics and baseline outcome measures. The experimental group showed significantly greater change score of the PSQI (p&lt;. 01) and step test (p&lt;.05). The change scores of the GWBS, lung capacity, and sit and reach test between the two groups showed no differences.</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results indicated that a low intensity Tai Chi exercise for 12 weeks could improve sleep quality and physical performance on balance and flexibility of legs in older adults.</p><p>&nbsp;</p> ER -