TY - JOUR AU - Wongpiriyayothar, Apinya AU - Pothiban, Linchong AU - Liehr, Patricia AU - Senaratana, Wilawan AU - Sucumvang, Khanokporn PY - 2013/02/06 Y2 - 2024/03/29 TI - Effects of Home-Based Care Program on Symptom Alleviation and Well-Being Among Persons with Chronic Heart Failure JF - Pacific Rim International Journal of Nursing Research JA - PRIJNR VL - 12 IS - 1 SE - Original paper DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/5891 SP - 25-39 AB - <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังเป็นปัญหาที่สำคัญที่ต้องการดูแลในระยะยาว อาการของ ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังมีผลกระทบต่อการทำหน้าที่ของร่างกาย จิตใจ และสังคม ผู้ป่วยที่มีภาวะนี้ต้องการโปรแกรมที่ช่วยบรรเทาอาการและส่งเสริมความผาสุก การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิง ทดลองเพื่อทดสอบผลของโปรแกรมการดูแลที่บ้านต่อการบรรเทาอาการและความผาสุกในผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง โดยใช้รูปแบบการจัดการอาการและกลวิธีในการ coaching เป็นกรอบ แนวคิดในการวิจัยกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังที่ตรงกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้จำนวน 96 คน โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างเข้าสู่กล่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองได้เข้าร่วมในโปรแกรม การดูแลที่บ้านที่ประกอบด้วยการเยี่ยมบ้านสองครังและการเยี่ยมทางโทรคัพท์ทุกสัปดาห์อย่าง น้อยสองครั้งเพื่อทำการการสอนและฝึกทักษะกลุ่มตัวอย่างให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมเกี่ยวกับการติดตามอาการและจัดการอาการของตนเองอย่างสมํ่าเสมอ และกลุ่มควบคุมเป็นกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ การเก็บรวบรวมข้อมูลทำก่อนเริ่มโปรแกรมและหลังการให้โปรแกรม 8 สัปดาห์และ 12 สัปดาห์ โดยใช้เครื่องมือวัดความรุนแรงของอาการหัวใจล้มเหลวเรื้อรังและใช้แบบสำรวจสุขภาพฉบับที่ 2 (SF-36 V2) ในการวัดความผาสุก ซึ่งเครื่องมือดังกล่าวมีค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ผลการวิจัยพบว่าโปรแกรมการดูแลที่บ้านสามารถลดความรุนแรงของอาการและเพิ่มความผาสุกของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาใหัแนวทางแก่พยาบาลในการดูแลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังที่บ้าน การศึกษาคเงต่อไป ควรดำเนินการในผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังกลุ่มอื่นๆ ที่มีระดับความรุนแรงแตกต่างกันเพื่อให้ไดัผลการวิจัยที่สามารถอ้างถึงประชากรที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังได้</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Chronic heart failure (CHF) often requires a long period of recuperative care to address physical, psychological and social functions. CHF patients need a home-based care program to alleviate symptoms and improve well-being. This study was a randomized clinical trial aimed to examine the effects of a home-based care program on the alleviation of symptoms and improvement of well-being of CHF patients. The study framework included a symptom management model and coaching strategies. A sample of 96 participants who met the inclusion criteria were randomly assigned into control and experimental groups. The experimental group intervention consisted of two home visits for coaching and at least two weekly telephone contacts to assure regular performance of self-monitoring and symptom management activities. The control group received usual care. Data were collected before the intervention and after the intervention at week-8 and week-12. Collection instruments were the Chronic Heart Failure Symptom Severity Scale and the Medical Outcomes Study Short Form Health Survey Version 2 (SF-36 V2) to measure well-being. The results show that a home-based care program can significantly alleviate the severity and increase the well-being of CHF patients. The findings provide nurses with guidelines for taking care of CHF patients at home. เท order to generalize the findings, further study must be carried out in different patient groups with various severity levels so that the finding can be generalized to the whole CHF population.</p> ER -