TY - JOUR AU - Hongchayangkool, Kullatat AU - Fongkaew, Warunee AU - Yenbut, Jarassri AU - Schroeder, Carole PY - 2013/02/06 Y2 - 2024/03/29 TI - Encountered Changes : Voices of Young Teenagers during the Transition from Primary to Secondary School JF - Pacific Rim International Journal of Nursing Research JA - PRIJNR VL - 13 IS - 1 SE - Original paper DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/6388 SP - 68-79 AB - <p><strong>บทคัดย่อ</strong><strong> </strong></p> <p>บทความนี้เสนอส่วนหนึ่งของผลวิจัยปรากฏการณ์นิยมเฮอร์เมนนิวติกที่มุ่งเข้าใจประสบการณ์ชีวิตเด็กวัยรุ่นตอนต้นไทยช่วงเปลี่ยนโรงเรียนจากระดับประถมสู่มัธยม ข้อมูลทางสถิติชี้ว่าการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวสร้างความเครียดให้วัยรุ่นตอนต้นไทยเช่นเดียวกัน การศึกษานี้ได้จากวัยรุ่นตอนต้น 14 รายที่มีประสบการณ์การเปลี่ยนโรงเรียนอย่างน้อย 1 ภาคเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นแห่งหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เก็บข้อมูลตามวิธีของเฮอร์เมนนิวติกด้วยการสัมภาษณ์ร่วมกับการสังเกตที่บันทึกไว้ความน่าเชื่อถือของงานได้จากการดำเนินตามแผนที่วางไว้ และการเขียนผลการวิจัยที่น่าเชื่อถือวิเคราะห์ข้อมูลตามแนวคิดของไฮเดกเกอร์และกาดาเมอร์</p> <p>ประสบการณ์สำคัญหนึ่งจากผลวิจัยที่จะน่าเสนอคือ “การเผชิญการเปลี่ยนแปลง” เป็นความรู้สีกของเด็กวัยรุ่นตอนต้นไทยต่อการเปลี่ยนโรงเรียนในช่วงเปลี่ยนแปลงลี่งแวดล้อมจิตสังคมและสรีระ เด็กวัยรุ่นตอนต้นไทยเผชิญการเปลี่ยนแปลงอารมณ์ การเรียนการสอนที่แตกต่างและสังคมที่ไม่คุ้นชิน เด็กรับรู้การเปลี่ยนแปลงอารมณ์ที่หงุดหงิดง่าย ไม่มั่นใจในตนเอง เบื่อและเหนื่อยกับการเรียน ตึงเครียด โดดเดี่ยวท่ามกลางคนแปลกหน้า และคิดถึงเพื่อนเก่า เด็กเผชิญการเรียนการสอนแบบใหม่ที่ยากและหนัก เนื้อหาลึกซึ้งและต่อยอด เน้นรับผิดชอบและให้ประสบการณ์จริง ทั้งเผชิญกับสังคมที่ไม่คุ้นชินซึ่งกรอบด้วยกฎระเบียบที่เคร่งครัด และพฤติกรรมไม่เหมาะสมของกลุ่มเพื่อน ความรู้ที่ได้สามารถช่วยให้ผูให้บริการสุขภาพในโรงเรียน บิดามารดาและพยาบาลตระหนกถึงภาวะเลี่ยงฃฺองเด็กวัยรุ่นตอนต้นไทยที่อยู่ในช่วงเปลี่ยนโรงเรียนและนำมาใช้เป็นแนวทาง พัฒนาการพยาบาลเพื่อส่งเสริมการปรับตัวและความรู้ลึกผาสุกของเด็กวัยรุ่นตอนต้นในช่วงเวลาที่สำคัญนี้</p> <p><strong>คำ</strong><strong>สำคัญ</strong>: เด็กวัยรุ่นตอนต้น การเปลี่ยนโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การวิจัยปรากฏการณ์นิยมเฮอร์เมนนิวติก</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>Results from a hermeneutic, phenomenological study, designed to increase understanding of early adolescents’ lived experiences during transition from primary to secondary school, are reported. This period is known to be stressful, among other populations, and Thai early teenagers appear to be no exception. Data were generated from 14 early adolescents, in a secondary school in southern Thailand, via interview, using the hermeneutic method to conduct and analyze interviews supplemented with field notes. Trustworthiness of findings was assured via an audit trail and rigor of the written report. Data were analyzed, based on Heidegger’s and Gadamer’s methodology.</p> <p>The theme, “Encountered Changes," describes Thai early adolescents’ feelings regarding transition to secondary school, including problems with emotional alteration, new and different teaching-learning approaches and facing an unfamiliar society. Three categories identified were: <em>emotional alteration,</em> consisting of easy annoyance, low self-confidence, being tired and bored of study, being in distress, feeling lonely among strangers and missing former friends; <em>different learning approaches,</em> involving encountering difficult and hard academic work, more profound content and going forward, and having to focus more on responsibility and real experiences; and, <em>facing an unfamiliar society, </em>including feelings of containment by strict school rules and regulations, and problems with surrounding inappropriate behavior from peers.</p> <p>Findings may help school health providers, parents, nurses and others better recognize and address adolescent vulnerabilities, and develop interventions that foster early adolescents’ readjustment and feelings of well-being during this important time.</p> <p><strong>Keywords: </strong>early adolescence, transition from primary to secondary school, Hermeneutic phenomenological research</p><p> </p> ER -