TY - JOUR AU - วณิชย์นิรมล, ศุภณัฐ AU - วีระเมธาชัย, ศรัณย์ AU - ลีศรี, ธนกมณ PY - 2022/03/28 Y2 - 2024/03/29 TI - อุบัติการณ์และปัจจัยเชิงทำนาย ภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่มารับบริการศูนย์การตรวจค้นหาและคัดแยกโควิดครบวงจร โรงพยาบาลสระบุรี : การศึกษาระยะ 14 วันหลังการวินิจฉัย JF - วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม JA - RHPC9J VL - 16 IS - 2 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/RHPC9Journal/article/view/256011 SP - 343-355 AB - <p>การระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 ทำให้มีผู้ป่วยจำนวนมาก ในปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาอุบัติการณ์การเจ็บป่วย และปัจจัยที่ส่งผลถึงภาวะเจ็บป่วย (Morbidity) ในผู้ป่วยนอก ความรู้ความข้าใจในปัจจัยดังกล่าวจะช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถจัดสรรทรัพยากรให้กับผู้ป่วยได้<br />อย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาอุบัติการณ์การเจ็บป่วยและปัจจัยที่ใช้ในการทำนายการเจ็บป่วยของผู้ป่วยโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 ที่มารับบริการ ณ ศูนย์ตรวจค้นหาและคัดแยกโควิดครบวงจรเมืองสระบุรี การศึกษาครั้งนี้ใช้การศึกษาแบบ Retrospective cohort โดยใช้ข้อมูลจากศูนย์ตรวจค้นหาและคัดแยกโควิดครบวงจรเมืองสระบุรี ตั้งแต่วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2564 <br />ถึง 5 กันยายน พ.ศ. 2564 คำนวณหา Incident rate ของการเจ็บป่วยใน 14 วันหลังวินิจฉัย<br />และใช้ Multivariable Cox Proportional-Hazard Regression เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงของภาวะเจ็บป่วยในผู้ป่วยโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019</p><p>ผลการวิจัย พบผู้ป่วยโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 ที่มารับบริการที่ศูนย์ตรวจค้นหาและคัดแยกครบวงจรเมืองสระบุรี ระหว่างวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2564 ถึง 5 กันยายน พ.ศ. 2564 จำนวน 1,026 คน พบว่า ผู้ป่วยมีภาวะเจ็บป่วย (Morbidity) 111 ราย คิดเป็น Morbidity rate เท่ากับ 0.01 คน/คน-วัน <br />และไม่มีผู้เสียชีวิตในการศึกษานี้ ปัจจัยเสี่ยงของการเจ็บป่วยในระดับปานกลางขึ้นไปคือ อายุมากกว่า <br />60 ปี(Hazard ratio=2.05, p-value=0.004) โรคเบาหวาน (Hazard ratio=2.11, p-value=0.011) อาการหอบเหนื่อย และเจ็บหน้าอกขณะหายใจเข้า (Hazard ratio=2.55, p-value&lt;0.001)</p> ER -