@article{ส่งวัฒนา_พุทธรัตน์_2012, title={ผลของการใช้ดนตรีไทยประยุกต์เพื่อบำบัดความปวดและความวิตกกังวลของผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด}, volume={22}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/2253}, abstractNote={<p>การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้ดนตรีไทยประยุกต์ ต่อการบำบัดความปวดและความวิตกกังวลของผู้ป่วยและหลังผ่าตัดศัลยกรรมทั่วไปและกระดูกโดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงแบ่งเป็นกลุ่มที่ใช้ดนตรี (กลุ่มทดลอง) จำนวน 15 ราย และกลุ่มที่ไม่ใช่ดนตรีในการบำบัด (กลุ่มควบคุม) จำนวน 20 ราย ผลการศึกษาพบว่า  การฟังดนตรีไทยประยุกต์ช่วยในการลดความปวด ลดความวิตกกังวล และลดปริมาณยาระงับปวดที่ได้รับ ทั้งก่อนและหลังผ่าตัด อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า เสียงดนตรีไทยประยุกต์สามารถนำมาใช้ในการบำบัดแบบทางร่วมรักษากับยา ในผู้ป่วยทางศัลยกรรมเพื่อการลดความปวดและวิตกกังวลที่มีประสิทธิภาพได้ซึ่งพยาบาลควรส่งเสริมและนำวิธีดังกล่าวมาใช้เพื่อการผสมผสานที่เหมาะสมโดยให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วม และเลือกดนตรีที่ชอบ</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong> : ดนตรีไทยประยุกต์ ความปวด ความวิตกกังวล ผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด</p>}, number={2}, journal={The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council }, author={ส่งวัฒนา ประณีต and พุทธรัตน์ อุทัยวรรณ}, year={2012}, month={Aug.}, pages={72} }