@article{เรืองวิเศษ_วาณิชย์กุล_ดนัยดุษฎีกุล_วงษ์คงคำ_ชินศักดิ์ชัย_2017, title={ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน ภายหลังการผ่าตัด โดยผ่านทางสานสวนหลอดเลือดแดง}, volume={32}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/91220}, abstractNote={<p><strong><span style="color: #231f20;">บทคัดย่อ:</span></strong><strong><br> วัตถุประสงค์ของการวิจัย</strong><span style="color: #231f20;">: เพื่อศึกษาอำานาจในการทำนายของพฤติกรรมการดูแลตนเอง</span><br> ข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและระยะเวลาหลังผ่าตัดต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดง<br> บริเวณขาตีบตันภายหลังผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง<br> <strong>การออกแบบการวิจัย</strong>: เป็นการวิจัยเชิงทำานาย<br> <strong>การดำาเนินการวิจัย</strong>: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน ภายหลัง<br> ผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง จำนวน 77 คน มารับการติดตามรักษาที่หน่วยตรวจโรค<br> แผนกศัลยศาสตร์หลอดเลือดและหน่วยตรวจรักษาด้วยเครื่องมือพิเศษและติดตามผลโรงพยาบาล<br> ศิริราช ระหว่างเดือนมิถุนายน 2556 ถึงมิถุนายน 2557 เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มอย่างง่าย<br> เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลสุขภาพ แบบสอบถามพฤติกรรมการ<br> ดูแลตนเอง แบบสอบถามข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและแบบสอบถามการฟื้นตัวหลังผ่าตัดโดย<br> ประเมินจากความสามารถในการเดิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน<br> มาตรฐาน และสถิติการถดถอยพหุคูณแบบเข้าพร้อมกัน<br> <strong>ผลการวิจัย</strong>: พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.4 มีการฟื้นตัวระยะหลังผ่าตัดอยู่ในระดับดี ร้อยละ<br> 46.7 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองดี ร้อยละ 53.2 ได้รับข้อมูลก่อนจำาหน่ายมาก การวิเคราะห์ถดถอย<br> พหุคูณพบว่าพฤติกรรมการดูแลตนเองเป็นปัจจัยเพียงตัวเดียวที่สามารถทำานายการฟื้นตัวของ<br> ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดได้ร้อยละ 20.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = .204, F(3,73)= 6.253, p < 0.05)<br> <strong>ข้อเสนอแนะ</strong>: การมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีจะส่งผลดีต่อการฟื้นตัวภายหลังผ่าตัด<br> ดังนั้นพยาบาลจึงควรพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเอง</p> <p><strong><span style="color: #231f20;">Abstract:</span></strong><strong><br> Objective: </strong><span style="color: #231f20;">To study the power of self-care behaviour, pre-discharge records and</span><br> post-operative recovery to predict peripheral arterial occlusive disease patients’ recuperation after endovascular surgery.<br> <strong>Design: </strong>Predictive research.<br> <strong>Methodology: </strong>The subjects, selected by means of simple random sampling, were<br> 77 peripheral arterial occlusive disease patients who had undergone endovascular surgery<br> and were receiving follow-up treatment at Siriraj Hospital’s Vascular Surgery and Special<br> Instrument and Follow-Up Clinic between June 2013 and June 2014. Data were collected<br> by means of (i) a personal and health information questionnaire; (ii) a self-care behaviour<br> questionnaire; (iii) a pre-discharge information questionnaire; and (iv) a walking-abilitybased post-operative recovery assessment questionnaire. The data were analysed in terms<br> of frequency, percentage, mean and standard deviation, using multiple regression analysis.<br> <strong>Results: </strong>The study found that 47.4% of the subjects recovered well after the surgery,<br> whilst 46.7% showed good self-care behaviour and 53.2% indicated that they had<br> received substantial information before their discharge. The multiple regression analysis<br> identifed self-care behaviour as the only signifcant predictive factor, in 20.4% of the<br> patients’ post-operative recuperation (R2 = .204, F(3,73) = 6.253, p < 0.05).<br> <strong>Recommendations: </strong>Good self-care behaviour is likely to contribute positively<br> to post-operative recuperation. Thus, nurses are advised to develop self-care programmes<br> and apply them to their patients.</p>}, number={2}, journal={The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council }, author={เรืองวิเศษ รัชดาภรณ์ and วาณิชย์กุล นภาพร and ดนัยดุษฎีกุล สุพร and วงษ์คงคำ เกศศิริ and ชินศักดิ์ชัย คามิน}, year={2017}, month={Aug.}, pages={79–94} }