TY - JOUR AU - สวัสดิพานิช, นันทกา AU - อภัยจิรรัตน์, จุไร PY - 2014/01/23 Y2 - 2024/03/29 TI - สภาพที่พักในการจัดศูนย์อพยพสำหรับผู้ประสบอุทกภัย : มุมมองของเด็กและผู้ปกครอง JF - The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council JA - J Thai Nurse midwife Counc VL - 28 IS - 3 SE - Research Articles DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/15753 SP - 123-134 AB - <p><strong>วัตถุประสงค์การวิจัย</strong><strong>:</strong> เพื่อศึกษาสภาพที่พักในการจัดศูนย์อพยพสำหรับผู้ประสบอุทกภัยตามการรับรู้ของเด็กและผู้ปกครองที่ประสบอุทกภัยและพักอาศัยในศูนย์อพยพ</p><p><strong>          </strong><strong>   การออกแบบวิจัย:</strong> การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research)<strong></strong></p><p>       <strong>      การดำเนินการวิจัย</strong><strong>:</strong>  ผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วย ผู้ปกครองเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี – 6 ปี จำนวน 32 คน และเด็กอายุ 7-12 ปี จำนวน 30 คน ที่ประสบอุทกภัยและเข้าพักพิงในศูนย์อพยพ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล  เก็บรวมรวบข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกต ระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2555  การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)</p><p>        <strong>    ผลการวิจัย</strong><strong>:</strong> สภาพที่พักในการจัดศูนย์อพยพพบ 5 ประเด็นหลัก คือ 1) อยู่อย่างอึดอัดทั้งกายและใจ  2) ไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 3) สภาพการอยู่กินเสี่ยงต่อโรคภัย 4) มีสิ่งรบกวนแปรปรวนต่อการนอนหลับ และ 5) ปัญหาหลากหลายท้าทายให้จัดการ </p><p>          <strong>ข้อเสนอแนะ</strong><strong>:</strong>  ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพที่พักและความเป็นอยู่ของผู้ประสบอุทกภัย ให้แนวทางในการจัดบริการสุขภาพ ความช่วยเหลือ และการบริหารจัดการศูนย์อพยพของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนสำหรับผู้ประสบอุทกภัยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป</p><p><strong>วัตถุประสงค์การวิจัย</strong><strong>:</strong> เพื่อศึกษาสภาพที่พักในการจัดศูนย์อพยพสำหรับผู้ประสบอุทกภัยตามการรับรู้ของเด็กและผู้ปกครองที่ประสบอุทกภัยและพักอาศัยในศูนย์อพยพ</p><p><strong>          </strong><strong>   การออกแบบวิจัย:</strong> การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research)<strong></strong></p><p>       <strong>      การดำเนินการวิจัย</strong><strong>:</strong>  ผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วย ผู้ปกครองเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี – 6 ปี จำนวน 32 คน และเด็กอายุ 7-12 ปี จำนวน 30 คน ที่ประสบอุทกภัยและเข้าพักพิงในศูนย์อพยพ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล  เก็บรวมรวบข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกต ระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2555  การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)</p><p>        <strong>    ผลการวิจัย</strong><strong>:</strong> สภาพที่พักในการจัดศูนย์อพยพพบ 5 ประเด็นหลัก คือ 1) อยู่อย่างอึดอัดทั้งกายและใจ  2) ไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 3) สภาพการอยู่กินเสี่ยงต่อโรคภัย 4) มีสิ่งรบกวนแปรปรวนต่อการนอนหลับ และ 5) ปัญหาหลากหลายท้าทายให้จัดการ </p><p>          <strong>ข้อเสนอแนะ</strong><strong>:</strong>  ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพที่พักและความเป็นอยู่ของผู้ประสบอุทกภัย ให้แนวทางในการจัดบริการสุขภาพ ความช่วยเหลือ และการบริหารจัดการศูนย์อพยพของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนสำหรับผู้ประสบอุทกภัยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป</p> ER -