TY - JOUR AU - กวัดแกว่ง, สุภาภรณ์ AU - เสรีเสถียร, เยาวลักษณ์ AU - พาหุวัฒนกร, วรรณา AU - บริบูรณ์หิรัญสาร, ดิฐกานต์ PY - 2014/03/31 Y2 - 2024/03/28 TI - ผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยใช้ทฤษฎีการดูแลต่อความวิตกกังวล ของสตรีที่ได้รับการยุติการตั้งครรภ์เพื่อการรักษา JF - The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council JA - J Thai Nurse midwife Counc VL - 29 IS - 1 SE - Research Articles DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/18620 SP - 55-66 AB - <p><strong>บทคัดย่อ</strong><strong>: </strong></p> <p><strong>วัตถุประสงค์</strong><strong>: </strong>เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลต่อความวิตกกังวลในสตรีที่ได้รับการยุติการตั้งครรภ์เพื่อการรักษา</p> <p><strong>รูปแบบการวิจัย</strong><strong>:</strong> การวิจัยกึ่งทดลอง</p> <p><strong>วิธีดำเนินการวิจัย</strong><strong>:</strong> กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีตั้งครรภ์ที่ตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์เพื่อการรักษาที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลศิริราช จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการพยาบาลจากผู้วิจัยร่วมกับการพยาบาลตามปกติ จำนวน 25 คน และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติจากพยาบาลเพียงอย่างเดียว จำนวน  25  ราย ในการศึกษาครั้งนี้มีกลุ่มตัวอย่างยุติการศึกษาจำนวน 5 คน โดยเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 3 คน จึงเหลือกลุ่มตัวอย่างที่นำมาวิเคราะห์ข้อมูลเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 22 ราย และกลุ่มควบคุมจำนวน 23 คน เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย โปรแกรมการพยาบาล แผนการสอนสำหรับสตรีที่ได้รับการยุติการตั้งครรภ์เพื่อการรักษา  และคู่มือการปฏิบัติตัวสำหรับสตรีที่ได้รับการยุติการตั้งครรภ์เพื่อการรักษา เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบวัดความวิตกกังวล (STAI) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา การทดสอบ ไคสแควร์ ฟิชเชอร์ และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความวิตกกังวลระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด้วยสถิติที</p> <p><strong>ผลการวิจัย</strong><strong>: </strong> ผลการวิจัยพบว่าคะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวลภายหลังการทดลองของกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (<em>p</em>&lt; 0.01)</p> <p><strong>สรุปและข้อเสนอแนะ</strong>: จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลที่ให้การดูแลสตรีที่ได้รับการยุติการตั้งครรภ์ ควรนำโปรแกรมการพยาบาลไปใช้ เพื่อลดความวิตกกังวลในสตรีที่ได้รับการยุติการตั้งครรภ์เพื่อการรักษา</p><p>Abstract:<span> </span> Objective:To examine the impact of a nursing programme on the level of stress in therapeutic abortion patients.Design:<span> </span>Quasi-experimental research.<span> </span> Implementation:The sample consisted of 50 female patients who decided to undergo therapeutic abortion and were being treated at Siriraj Hospital. These patients were divided equally into the experimental group, which received the researcher’s nursing programme along with normal nursing care, and the control group, which received only normal nursing care. However, five of the patients—3 in the experimental group and 2 in the control group—quit participating in this study. The data, therefore, were collected from 22 from the experimental group and 23 from the control group.The instruments used in this study consisted of (i) a nursing care programme; (ii) a planned lesson for therapeutic abortion patients; and (iii) a set of healthcare guidelines for therapeutic abortion patients. The data were collected using a personal information questionnaire and a Stress Assessment Indication (STAI) form and analysed using descriptive statistics, Chi-square tests and Fisher’s exact test. The experimental and control groups’ average levels of stress were then compared using an independent T-test.<span> </span> Results:<span> </span>The experimental group displayed a significantly lower average level of stress (p &lt; 0.01) than did the control group.<span> </span> Recommendations:<span> </span>It is suggested that nurses apply this programme to the therapeutic abortion patients under their care, as the programme has been proved effective in reducing stress.</p> ER -