TY - JOUR AU - บุ่งนาม, สุพรภัทตรา AU - โตสิงห์, อรพรรณ AU - ฉันท์เรืองวนิชย์, วัลย์ลดา AU - อิทธิเมธิน, ปฤณัต PY - 2016/01/23 Y2 - 2024/03/29 TI - ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวของญาติผู้ป่วยวิกฤติทางศัลยศาสตร์ JF - The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council JA - J Thai Nurse midwife Counc VL - 30 IS - 4 SE - Academic Article DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/35417 SP - 72-83 AB - <p><strong>บทคัดย่อ</strong><strong>: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: </strong>เพื่อศึกษาอิทธิพลของ อาการนอนไม่หลับ การตัดสินใจ ความพร้อมในการดูแล ต่อการปรับตัวของญาติผู้ป่วย</p><p><strong>การออกแบบการวิจัย</strong><strong>: </strong>วิธีวิจัยแบบบรรยายเชิงทำนาย (descriptive predictive study)</p><p><strong>วิธีดำเนินการวิจัย</strong><strong>: </strong>กลุ่มตัวอย่าง มีอายุ 18 ปีขึ้นไป เป็นญาติของผู้ป่วยวิกฤติที่เข้ารับการ รักษาในหอผู้ป่วยวิกฤติมากกว่า 3 วัน จำนวน 77 คน ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งใน กรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบ แบบประเมินอาการนอนไม่หลับ แบบประเมินความสามารถในการตัดสินใจ แบบประเมินความพร้อม ในการดูแลของญาติผู้ดูแล และแบบประเมินการปรับตัวแบบย่อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ ถดถอยพหุคูณ</p><p><strong>ผลการวิจัย</strong><strong>: </strong>พบว่า ญาติผู้ป่วยมีอายุเฉลี่ย 42 ปี (S.D. = 11.11ปี) ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีคะแนนการปรับตัวเพื่อเผชิญปัญหาแบบมุ่งแก้ปัญหา (Problem focus coping) เฉลี่ย 20.18 (S.D. = 3.029) คะแนนความบกพร่องในการปรับตัวเพื่อเผชิญปัญหา (Dysfunction coping) เฉลี่ย = 28.95 (S.D. = 3.842) และคะแนนปรับตัวเพื่อเผชิญปัญหาด้านอารมณ์ (Emotional focus coping) เฉลี่ย = 22.40 ( S.D. = 5.310) พบว่าอาการนอนไม่หลับมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ความบกพร่องในการปรับตัวเพื่อเผชิญปัญหา (<em>r </em>= .259, <em>p</em>&lt;0.05) ความพร้อมในการดูแล มีความ สัมพันธ์ทางบวกกับการปรับตัวเพื่อเผชิญปัญหาด้านอารมณ์และการปรับตัวเพื่อเผชิญปัญหา แบบมุ่งแก้ปัญหา (<em>r </em>= .439, <em>p</em>&lt;0.01; <em>r </em>= .598, <em>p</em>&lt;0.01) แต่ความสามารถในการตัดสินใจไม่มี ความสัมพันธ์กับการปรับตัวของญาติผู้ป่วย อาการนอนไม่หลับ การตัดสินใจและความพร้อมใน การดูแล สามารถร่วมทำนายการปรับตัวเพื่อเผชิญปัญหาแบบมุ่งแก้ปัญหาของญาติผู้ป่วยได้ร้อยละ 10 (Adjust R square =0.100, <em>p </em>= 0.01) และร่วมทำนายการปรับตัวเพื่อเผชิญปัญหาด้านอารมณ์ ได้ร้อยละ16.8 (Adjust R square =0.168, <em>p </em>= 0.001)</p><p><strong>ข้อเสนอแนะ</strong><strong>: </strong>พยาบาลและทีมสุขภาพควรส่งเสริมการปรับตัวของญาติผู้ป่วยวิกฤติ โดยการ ให้ข้อมูล และแสวงหาแหล่งสนับสนุนอย่างเหมาะสมเพื่อให้เกิดความพร้อมในการดูแล ร่วมกับ การประเมินและแก้ไขปัญหาเรื่องการนอนหลับของญาติผู้ป่วยด้วยวิธีการที่หลากหลายซึ่งถือว่า เป็นการดูแลแบบประคับประคองที่จะเอื้อให้ญาติผู้ป่วยมีการปรับตัวอย่างมีประสิทธิภาพ</p><p><strong>Abstract: Objective: </strong>To examine the impact of sleeplessness, decision-making, and caregiving readiness on the adjustment process of patients’ relatives.</p><p><strong>Design: </strong>Descriptive predictive study.</p><p><strong>Implementation: </strong>This study was conducted on 77 subjects who were 18 years old or older. The subjects were relatives of surgically critical patients who had been treated for more than 3 days in the intensive care unit of a campus hospital in Bangkok. The research instruments consisted of (1) a personal information questionnaire; (2) a sleeplessness assessment form; (3) a decision-making capacity evaluation form; (4) a caregiver readiness evaluation form; and (5) a simplified adjustment assessment form. The data were analysed using multiple regression analysis.</p><p><strong>Results: </strong>The majority of the subjects (patients’ relatives) were female, with an average age of 42 (SD = 11.11). They displayed an average problem-focus coping score of 20.18 (SD = 3.029), an average dysfunction coping score of 28.49 (SD = 3.842), and an average emotional-focus coping score of 22.40 (SD = 5.310). The factor of sleeplessness was found to have a positive relationship with the subjects’ dysfunction coping ability (r = .259, p &lt; 0.05); similarly, the subjects’ caregiving readiness was also found in a positive relationship with their emotional-focus coping ability and problem-focus coping ability (r = .439, p &lt; 0.01 and r = .598, p &lt; 0.01, respectively). By contrast, the subjects’ decision-making ability was found to have no significant relationship with their adjustment ability. Finally, the subjects’ sleeplessness, decision-making ability, and caregiving readiness were capable of jointly predicting the problem-focus coping ability in 10 percent of the subjects (Adjust R square = 0.100, p = 0.01) and predicting the emotional-focus coping ability in 16.8 percent of the subjects (Adjust R square = 0.168, p = 0.001).</p><p><strong>Recommendations: </strong>It is recommended that nurses and healthcare personnel jointly promote the adjustment ability of patients’ relatives and increase their caregiving readiness, by means of supplying information and suggesting proper sources of knowledge. In addition, sleeplessness in patients’ relatives needs to be assessed and addressed using various methods. All these forms of palliative care are considered conducive to enhancing the adjustment ability of patients’ relatives.</p> ER -