@article{Iemsupakkul_Kijvikai_2016, title={Laparoscopic ureteroneocystostomy for ureterovaginal fistula after hysterectomy: A Ramathibodi Hospital experience}, volume={37}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJU/article/view/63024}, abstractNote={<p><strong>Objective:</strong> To describe our experience and report the outcomes of laparoscopic ureteroneocystostomy treatment in patients who had ureterovaginal fistula after hysterectomy.<br /><strong>Material and Methods:</strong> We retrospectively reviewed the data of 8 patients who underwent laparoscopic extravesical ureteroneocystostomy using the psoas hitch procedure for ureterovaginal fistulas following hysterectomy between July 2007 and December 2015. Transperitoneal laparoscopic approach was performed in all cases.<br /><strong>Results:</strong> The procedures were performed successfully in all patients without any conversion. Mean operative time was 143.13 (range 100 to 200) minutes;mean estimated blood loss was 58.75 (range 20 to 200) ml; average hospital stay was 4.5 (range 3 to 7) days, and mean follow up was 4 (range 1 to 5) years. There was no minor or major complication and there was no stricture formation in our series.<br /><strong>Conclusions:</strong> Laparoscopic ureteroneocystostomy with psoas hitch can be performed safely with a success rate comparable to that of open surgery. It provides excellent outcomes with less morbidity and a faster recovery period.</p><p> </p><p><strong>การผ่าตัดผ่านกล้องแก้ไขรูรั่วระหว่างท่อไตและช่องคลอดที่เกิดหลังการผ่าตัดมดลูก</strong><br />ไพบูลย์ เอี่ยมสุภัคกุล, กิตติณัฐ กิจวิกัย<br />หน่วยศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ<br /><strong>บทคัดย่อ</strong><br /><strong>วัตถุประสงค์:</strong> เพื่อรายงานผล และเทคนิค การผ่าตัดผ่านกล้องรักษารูรั่วระหว่างท่อไตและช่องคลอดที่เกิด หลังการผ่าตัดมดลูก<br /><strong>วิธีการศึกษา:</strong> ศึกษาข้อมูลย้อนหลังผู้ป่วยจำนวน 8 รายที่ ได้รับการผ่าตัดแก้ไขรูรั่วระหว่างท่อไตและช่องคลอดโดยการตัดท่อไตกับกระเพาะปัสสาวะด้วยกล้องผ่านช่องท้อง ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2007 ถึงเดือนธันวาคมพ.ศ. 2015<br /><strong>ผลการศึกษา:</strong> จากการศึกษาการผ่าตัดแก้ไขรูรั่วระหว่างท่อไตและช่องคลอดสามารถผ่าตัดได้ผลสำเร็จทุกราย ระยะเวลาที่ใช้ในการผ่าตัดเฉลี่ยอยู่ที่ 143 นาที การสูญเสียโลหิตเฉลี่ย 58.75 มิลลิลิตร ระยะเวลาของการพักรักษาตัวในโรงพยาบาลเฉลี่ย 4.5 วัน และระยะเวลาการตรวจติดตามเฉลี่ยที่ 4 ปี โดยที่ไม่พบภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยทั้ง 8 รายรวมถึงไม่พบภาวะท่อไตตีบหลังการผ่าตัด<br /><strong>สรุป:</strong> การผ่าตัดตัดต่อท่อไตกับกระเพาะปัสสาวะด้วยกล้องมีความปลอดภัยและได้ผลสำเร็จเทียบเท่าการผ่าตัดแบบเปิดการรักษามีผลข้างเคียงน้อยและผู้ป่วยฟื้นตัวได้เร็ว</p>}, number={1}, journal={Insight Urology}, author={Iemsupakkul, Paiboon and Kijvikai, Kittinut}, year={2016}, month={Jun.}, pages={17–22} }