@article{Thanakhon_Choonhaklai_2016, title={Association of Infundibulopelvic Angle, Infundibuum Width, Infundibulum Length and Lower Pole Ratio on Stone Clearance after Shock Wave Lithotripsy}, volume={37}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJU/article/view/74205}, abstractNote={<p><strong>Objective:</strong> To determined relationship between the radiologic anatomy of the lower calyx, as seen on preoperative excretory urography (IVP) and the outcome of stone clearance after ESWL for lower pole stones.<br /><strong>Material and Methods:</strong> Between October 2008 and September 2013, 66 patients with a single lower pole stone measuring 20 mm or less in size were enrolled in this retrospective study. Anatomical factors, such as infundibular length (IL), width (IW) and infundibulopelvic angle (IPA) were measured and the lower pole ratio (infundibular length: width) was calculated on preoperative IVP. Stone clearance was assessed at three months with a plain KUB film.<br /><strong>Results:</strong> The overall three-month stone-free rate was 51.5%. Mean stone size +SD was 10.88 + 3.40 mm, mean IL was 26.30 + 4.57 mm, mean IW was 7.80 + 3.33 mm, mean, IPA was 58.86 + 13.15 degrees and mean lower pole ratio was 4.18 + 2.35. None of the patients had an IPA > 90 degree. Stone-free patients compared with patients having residual fragments had no significant differences in IW, IL, IPA or lower pole ratio.<br /><strong>Conclusion:</strong> None of the anatomic factors had a statistically significant effect in predicting the success of ESWL in patients with lower pole stones. However, In routine practice, regardless of the radiological anatomy, ESWL continues to be the initial treatment option, given its non-invasive nature and ease of administration.</p><p> </p><p><strong>การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะกายวิภาคของไตต่อความสำเร็จหลังการรักษานิ่วที่ไตส่วนล่างด้วยวิธีการยิงสลายนิ่ว</strong><br />เชฏฐา ฐานคร, วรพจน์ ชุณหคล้าย<br />หน่วยศัลยศาสตร์ยูโร กลุ่มงานศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลราชวิถี กรุงเทพฯ<br /><strong>บทคัดย่อ</strong><br /><strong>วัตถุประสงค์:</strong> เพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายวิภาคที่เห็นในฟิล์ม IVP ก่อนทำหัตถการ และผลสำเร็จของการ ยิงสลายนิ่ว (ESWL) ในผู้ป่วยกลุ่มนิ่วในไตส่วนล่าง (lower pole stone)<br /><strong>ผู้ป่วยและวิธีการศึกษา:</strong> การศึกษานี้เป็นการเก็บข้อมูลย้อนหลังจากแฟ้มเวชระเบียนผู้ป่วยโรคนิ่วในไต โดยผู้ป่วยที่ถูกวินิจฉัยว่า เป็นนิ่วในไตช่วงล่างก้อนเดี่ยว (single lower pole stone) ขนาดน้อยกว่า 20 มิลลิเมตร โดยเก็บข้อมูล ตั้งแต่ เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2551 ถึง เดือน กันยายน พ.ศ. 2556 มีผู้ป่วย ทั้งหมด 66 ราย ถูกคัดเข้ามาในการศึกษา การประเมินฟิล์ม excretory urography (IVP) ทำการวัดค่าทางกายวิภาคต่าง ๆ ประกอบด้วย มุม infudibulopelvic angle (IPA), ความยาว infundibulum (IL), ความ กว้าง infundibulum (IW), lower pole ratio คำนวณโดยการนำความยาว infundibulum หารด้วย ความกว้าง infundibulum (IL: IW) ข้อมูลจะถูกนำมาวิเคราะห์เพื่อประเมินการออกของนิ่ว (stone clearance) ที่ 3 เดือน โดยใช้ฟิล์มเอกซเรย์ (Plain KUB film)<br /><strong>ผลการศึกษา:</strong> อัตราความสำเร็จของการยิงสลายนิ่วที่สามเดือน (over-all stone free rate) คือ ร้อยละ 51.5 นิ่วขนาด เฉลี่ย 10.88 + 3.33 มม., ค่ามุม infudibulopelvic angle เฉลี่ย 58.86 + 13.15 องศา ส่วน lower pole ratio มีค่าเฉลี่ย คือ 4.18 + 2.35 โดยในการศึกษานี้ไม่พบผู้ป่วยที่มีค่า มุม infudibulopelvic angle ที่มากกว่า 90 องศา ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะหมด ของนิ่ว (stone free) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเหลือของนิ่ว พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ในแง่ของ ความกว้าง infundibulum ความยาว infundibulum มุม infudibulopelvic angle (IPA) หรือ lower pole ratio<br /><strong>สรุป:</strong> ไม่มีค่ากายวิภาคใดที่สามารถบ่งชี้ถึงผลสำเร็จหลังการรักษานิ่ว ด้วยการยิงสลายนิ่ว (ESWL) ในกลุ่มผู้ป่วยนิ่วในไตส่วน ล่าง การรักษานิ่วด้วยวิธีการยิงสลายนิ่ว เป็นทางเลือกในการรักษาอันดับแรก ๆ ที่ควรพิจารณา เนื่องจากเป็นการรักษาที่ non invasive ทำได้ง่าย และมีความสะดวก</p>}, number={2}, journal={Insight Urology}, author={Thanakhon, Chettha and Choonhaklai, Vorapot}, year={2016}, month={Dec.}, pages={19–28} }