https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/issue/feed Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) 2020-08-11T13:46:14+07:00 Veridian E-Journal, Silpakorn University gradsu.jr@gmail.com Open Journal Systems <p><strong>ขอแจ้งยุติการดำเนินงานจัดทำวารสารและปิดรับบทความ</strong></p> <p> วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ<br />ขอแจ้งยุติการดำเนินงานและปิดรับบทความ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 เป็นต้นไป โดยบทความที่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว ยังสามารถดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์ของวารสาร (<a href="https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal">https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal</a>)</p> <p> ทางวารสารขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิที่ให้ความอนุเคราะห์และความร่วมมือด้วยดีเสมอมาในการดำเนินงานของวารสาร รวมทั้งคณาจารย์ นักวิจัย นักศึกษา และนักวิชาการทุกท่าน ที่ส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในวารสาร</p> <p>----------------------------------------------</p> <p>เรียน ทุกท่าน</p> <p> ตามที่<span style="text-decoration: underline;">วารสาร Veridian E Journal ฯ สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ</span> และ<span style="text-decoration: underline;">วารสาร Veridian E Journal ฯ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี</span> ทั้ง 2 วารสาร ถูกถอดจากวารสารในกลุ่ม TCI1และ TCI 2 ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563- 31 ธันวาคม 2565 ความแจ้งแล้วนั้น</p> <p> ทางกองบรรณาธิการขอเรียนว่า บทความวิจัยที่ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารทั้ง 2 วารสาร จนถึงฉบับเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2562 ยังสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการและการสำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาได้</p> <p> ทั้งนี้ทางวารสารงดรับบทความที่เสนอเพื่อพิจารณาในวารสาร Veridian E Journal ฯ สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ตั้งแต่วันที่ 14 สิงหาคม 2562 เนื่องจากมีบทความที่อยู่ระหว่างดำเนินการ สำหรับการเผยแพร่ในปี พ.ศ.2562 เต็มจำนวนตามที่ทางวารสารกำหนดแล้ว<br /> สำหรับวารสาร Veridian E Journal ฯ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สามารถรับบทความได้ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2562</p> <p>จึงเรียนมาเพื่อทราบ</p> <p>------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------</p> <p> The Journal of the Veridian E-Journal,Silpakorn University has the objective of encouraging and supporting faculty members, scholars, graduate students, and the general public not only to disseminate academic work and research studies but also to exchange knowledge, academic opinions, and research findings in the fields of humanities, social science, and arts for the benefit of educational development in their respective disciplines. </p> <p><span style="color: #bb0000;"> * Authors have to follow the format of Veridian E-Journal. Authors can download the article template as the below links.</span> <br />(<a href="https://tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/Format" target="_blank" rel="noopener">Format</a>)</p> <p> ** Tracking of Journal &gt;&gt; <a href="https://www.proceedings.su.ac.th/journal/tidtam.php" target="_blank" rel="noopener">https://www.proceedings.su.ac.th/journal/tidtam.php</a></p> https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/233835 คำนำ 2020-01-03T10:52:04+07:00 Veridian E-Journal Silpakorn University gradsu.jr@gmail.com 2019-09-27T00:00:00+07:00 Copyright (c) 0 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/160059 Communicational Skill Condition and Development for Social Happiness of Surindra Rajabhat University Teacher Students through Online Social Technology 2019-09-27T16:33:33+07:00 Panit Sripradit drpanitsri@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aimed to study the communication conditions of online social technology of Surin Rajabhat University (SRRU) student teachers, to develop the communication skills for social happiness of SRRU student teachers through online social technology, and to propose the improving ways of life skills in communication for social happiness of SRRU student teachers through online social technology. This research was mixed between quantitative and qualitative disciplines. The research tools were the questionnaire and the evaluation form. The samples were 500 student teachers of Faculty of Education, SRRU, by simple random sampling. The data was statistically analyzed as percentage, mean and standard deviation.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research results are as the followings.&nbsp;</p> <ol> <li>1. Most communication conditions of SRRU student teachers through online social technology were mostly used via the social media applications, i.e. Facebook (100%), Line (100%) and E-mail (100%), and the using time was mostly before studying at university (6.00 AM – 8.00 AM) (100%), during lunch break (12.01 PM – 1.00 PM) (100%), and in the evening (after 8.01 PM until bed time) (100%). They mostly used the applications to communicate with family, friends and colleagues (100%), teachers (73%) and unknown people (20%). The main purposes of communication were to ask about livings (100%) and work on assignments (82.4%). They mostly used their mobile telephones (100%) and laptop computers (69.2%), which were mostly used in each time not more than 2 minutes (100%) and not more than 5 minutes (69%), and generally used to present and communicate their news, social movement, quotes, poetry and personal thoughts (100%) and entertainment movement (65.2%).</li> <li>2. For developing the communication skills for social happiness of SRRU student teachers through online social technology, there was the training project to develop the communication skills, and there were mainly activities using the media for presenting themselves with high appropriation (48%) and the media design with high appropriation (50%) for social happiness through online social technology. Most media were appropriate and the project’s satisfaction from participants was overall in the highest level (= 4.58, SD = 0.05).</li> <li>3. Proposals for developing the life skills in communication for social happiness of SRRU student teachers were as the followings.</li> </ol> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.1 The proposals of life skills in communication for social happiness should be the media selection skill, time selection skill, communicating personal selection skill, communication selection skill, communicating equipment selection skill, and presentation selection skill.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.2 The proposals of communication skill development through online social technology should be the media self-presentation arrangement and the media design for social happiness through online social technology. These would create the development of media creating skill appropriately and possibly for social happiness.</p> 2019-09-27T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/170054 อิทธิพลของการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ หัวหน้างาน ทีมงาน ความมีอิสระในการทำงาน และผลการปฏิบัติงานทางวิชาการอย่างสร้างสรรค์ ที่มีผลต่อความผูกพันในวิชาชีพของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (Influence’s Perceived Support from Organization, Supervisor, Team and Creative Academic Performance on the Career Commitment of the RMUTP’s Lecturers) 2019-10-07T15:22:18+07:00 ณนนท์ แดงสังวาลย์ (Nanoln Dangsungwal) Nanoln.d@rmutp.ac.th วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ (Viroj Jadesadalug) viroj_jade@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ หัวหน้างาน ทีมงาน ความมีอิสระในการทำงาน และผลการปฏิบัติงานทางวิชาการอย่างสร้างสรรค์ที่มีผลต่อความผูกพันในวิชาชีพ ของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กลุ่มตัวอย่างคือบุคลากรสายวิชาการจาก 9 คณะของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จำนวนทั้งสิ้น 101 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประเมินค่าแบบ 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า 1) การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ ทีมงาน และความมีอิสระในการทำงานมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับผลการปฏิบัติงานทางวิชาการในเชิงสร้างสรรค์ และการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ หัวหน้างาน ทีมงาน และความมีอิสระในการทำงาน มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความผูกพันในอาชีพของบุคลากรสายวิชาการ 2) การทดสอบความเป็นตัวแปรกลาง พบว่า ผลการปฏิบัติงานทางวิชาการในเชิงสร้างสรรค์เป็นตัวแปรกลางในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ หัวหน้างาน ทีมงาน และความมีอิสระในการทำงาน ที่มีอิทธิพลอย่างมากกับความผูกพันในวิชาชีพของบุคลากรสายวิชาการ ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาประกอบด้วยประโยชน์เชิงทฤษฎี พบว่า ผลการ ปฏิบัติงานทางวิชาการอย่างสร้างสรรค์เป็นตัวแปรกลางที่มีอิทธิพลอย่างมากระหว่างตัวแปรการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ หัวหน้างาน ทีมงาน และความผูกพันในวิชาชีพ ส่วนประโยชน์ด้านการจัดการ พบว่า องค์การควรจัดกิจกรรมพัฒนาคุณสมบัติหัวหน้างาน และควรส่งเสริมการสร้างสรรค์ผลงานให้บุคลากร เพื่อรักษาบุคลากรที่มีความสามารถให้คงอยู่และสร้างสรรค์ผลงานวิชาการที่มีประสิทธิผลที่ดีต่อไป</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The aim of this research was to investigate the influence of perceived which support from organization, supervisor, team, autonomy and creative academic performance on the career commitment in the Rajamangala University of Technology Phra Nakhon (RMUPT’s)’s lecturers. The sample was a lecturer who working in nine faculties at RMUTP, totally 101 persons. A questionnaire used the Likert-type 5 Scale, the statistic was used to analyze the data including frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s correlation coefficient, simple regression analysis and multiple regression analysis. The result of this study was as follows:1) Perceived support from the organization team and job autonomy were positively correlated with creative academic performance, while perceived support from the organization, supervisor team and job autonomy were positively correlated with academic career commitment.2) Mediator variable testing found that the creative academic performance was a mediator variable in the relationship between perceived support from the organization, supervisor team and job autonomy that highly influenced an academic career commitment. The benefits of this study divided 2 dimensions like theoretical benefit was found that the creative academic performance was a mediator variable that had a great influence between perceived support from organizations, supervisors, team and professional engagement. On the other hand, the management benefit was found that the organization should organize activities to develop supervisor qualifications and should promote the creation of works for teacher. In order to making an effective of career commitment and creativity academic performance.&nbsp;</p> 2019-10-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/168409 How Waterpark Image, Price Fairness, and Satisfaction Create Behavioral Intentions: Moderating Effects of Novelty- Seeking 2019-10-21T10:44:54+07:00 Thunyathorn Dulyadhamapiromya Thunyatd@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Despite a fast-growing number of waterparks in Thailand, this high capital-intensive business has a very few matured precedent cases in the country. As the challenges are getter greater, the understanding of patron’s behavioral is an extremely important determinant in long-term competitiveness and sustainability in the industry. Thus, this study aims to explore the relationships among the antecedents which are waterpark image, price fairness, and patron’s satisfaction together with their effects on behavioral intentions. The mediating roles of price fairness and satisfaction as well as the moderating role of novelty-seeking are also examined. Regardless of the scant in waterpark literature, a proposed conceptual framework, applied from literature in related fields, was empirically tested using a structured questionnaire. Qualified respondents rated their opinions on scaled items with five-point Likert scale. A structural equation modeling using SmartPLS3.2.7 was performed to examine the proposed hypothetical paths. The analytical results confirm the importance of waterpark image and price fairness in predicting satisfaction and behavioral intentions. While price fairness partially mediates water park image to satisfaction, satisfaction also acts as a partial mediator for waterpark image and price fairness to behavioral intentions. The result reveals that waterpark image has biggest total effect on behavioral intentions. And as projected, satisfaction is also another strong predictor of behavioral intentions, novelty-seeking, on the other hand, was not found to have a significant moderating effect on the relationship between satisfaction and behavioral intentions. These empirical findings are beneficial to both existing and future waterpark developers for planning limited resources on most influential factors in proper priority that lead to desired behavioral intentions. It reaffirms the necessity for managers to perform a correct combination of marketing mixes that would strengthen the perception of the image and price fairness. In addition, the effect of novelty-seeking on behavioral intentions can be theoretically extended and is recommended for future study to explore in different dimensions other than the moderating role. Further managerial and theoretical implications are discussed in the paper.</p> 2019-10-21T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/182026 การใช้บริการจากผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์: ปัจจัยที่ใช้ในการคัดเลือกและที่เป็นสาเหตุที่ทำให้คุณภาพการบริการแตกต่างกัน (The Usage of Third-Party Logistics: Selection Criteria and Service Quality Differentiating Factors) 2019-10-22T09:40:45+07:00 กฤติยา ยงวณิชย์ (Kittiya Yongvanich) KITTIYARU@GMAIL.COM นิภา รุ่งเรืองวุฒิไกร (Nipa Rungruangwuddikrai) gradsu.jr@gmail.com ธัญชนก เกิดศักดิ์สิทธิ์ (Thunchanok Girdsaksit) kittiyaru@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเหตุผลที่ผู้ใช้บริการเลือกใช้บริการจากผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์&nbsp; ประเภทของบริการที่เลือกใช้&nbsp; ปัจจัยที่ใช้ในการคัดเลือกผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ และสาเหตุที่ทำให้คุณภาพการบริการของผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์แต่ละรายแตกต่างกัน งานวิจัยนี้ต่อยอดองค์ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยที่ใช้ในการคัดเลือกผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ โดยนำเสนอกรอบแนวคิดปัจจัยที่ใช้ในการคัดเลือกผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ ที่พัฒนาจากงานวิจัยในอดีตที่มีการนำเสนอปัจจัยที่ใช้ในการคัดเลือกผู้ให้บริการไว้หลากหลายและแตกต่างกัน และใช้กรอบแนวคิดนี้ในการศึกษามุมมองของผู้ใช้บริการว่าให้ความสำคัญกับปัจจัยต่างๆ ภายใต้กรอบแนวคิดนี้มากน้อยเพียงใด โดยเก็บข้อมูลจากบริษัทที่มีการนำเข้าและส่งออกสินค้าเป็นจำนวนมากอย่างต่อเนื่อง และใช้บริการจากผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ที่ให้บริการในหลายประเทศ ด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการคัดเลือกและติดต่อประสานงานกับผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ กรอบแนวคิดที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ใช้บริการในการคัดเลือกผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ และใช้เป็นแนวทางในการจัดการการดำเนินงานสำหรับผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ให้มีคุณภาพการบริการที่ดีแก่ผู้ใช้บริการงานวิจัยนี้พบว่าความสำคัญที่ผู้ใช้บริการให้กับปัจจัยแต่ละด้านอาจแตกต่างกันไปในแต่ละกิจการ ขึ้นกับเหตุผลและประเภทของบริการที่ผู้ใช้บริการต้องการเพื่อเติมเต็มการดำเนินงานของผู้ใช้บริการ แต่โดยทั่วไป ผู้ใช้บริการให้ความสำคัญสูงที่สุดกับความเชื่อถือได้ในการส่งมอบ โดยมีราคาค่าบริการที่เหมาะสมกับคุณภาพการบริการ นอกจากนี้ ยังพบว่า พนักงานที่มีความรู้ความชำนาญ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่ใช้ในการจัดการโลจิสติกส์ในการให้บริการเป็นทรัพยากรหลักที่ทำให้คุณภาพการบริการของผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์แต่ละรายแตกต่างกัน ซึ่งผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ควรให้ความสำคัญในการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพในการให้บริการของตนเอง</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research aimed to investigate reasons for using third party logistics service providers (3PL), types of logistics services used, selection criteria, and factors that cause differences in service quality received from different 3PL.&nbsp; This research also added to the body of knowledge on 3PL selection criteria by proposing a framework of 3PL selection criteria developed from factors and frameworks that have been used variedly in prior research.&nbsp; It used the proposed framework to examine 3PL customers’ perspective on the importance of each factor under the proposed framework to their 3PL selecting decisions.&nbsp; It collected data from companies that continually have a significant amount of import and export transactions and are customers of a large 3PL that has operations in many countries. &nbsp;Those who involved in the 3PL selection process and coordination with the selected 3PL were interviewed. &nbsp;The proposed framework can be used as a guidance for those who use services from 3PL of what to consider when selecting 3PL and a guidance for 3PL in managing their operations in order to deliver superior service quality. &nbsp;It was found that the importance attached to each of the factors may differ from one company to another.&nbsp; This depends on reasons why customers want to use logistics services from 3PL and types of services they want to use, which should provide skills and resources that the customers do not possess.&nbsp; However, customers generally consider reliability of delivery of utmost importance at reasonable prices of comparable services. Additionally, it also found that expertise of human resources and technology competence are two main factors that cause differences in service quality received and 3PL should be focusing on in order to uplift their capacity to serve.</p> 2019-10-22T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/204832 สถิติวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถาบันอุดมศึกษา เอกชนในเขตภาคเหนือ (The Statistics Analysis Factors Affecting the Learning Organizations of the Private Tertiary Education Institutions in the North) 2019-10-22T10:21:06+07:00 กิตติ ศศิวิมลลักษณ์ (Kitti Sasivimonlux) phing_kit@hotmail.com ณรงค์เดช วิชัยรัมย์ (Narongdech Wichairam) 1735390587qqq@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตภาคเหนือ และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตภาพเหนือ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เครื่องมือเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือบุคลากรสายบริหารสายวิชาการ และสายสนับสนุนวิชาการในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตภาคเหนือ จำนวน 689 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพรรณนาวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนสถิติอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า โดยรวมสภาพการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตภาคเหนือทั้ง 7 ลักษณะ อยู่ในระดับมาก และปัจจัยที่นำมาศึกษาทุกปัจจัย(9 ปัจจัย) สามารถพยากรณ์การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ได้ถึงร้อยละ 75.3 โดยมี 8 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตภาคเหนือ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 และ .05 ตามลำดับ และสามารถสร้างสมการพยากรณ์การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตภาคเหนือในรูปแบบของคะแนนมาตรฐาน ได้ดังนี้ LO = 0.191 (Techno) + 0.185 (Structure) + 0.157 (Motivate) + 0.112 (Leader) + 0.092 (Admin) + 0.092 (Work) + 0.079 (Vision) + 0.060 (Develop)</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aimed to study the state of learning organizations in the private tertiary education institutions in the North, and to investigate the learning organizations of the private tertiary education institutions in the North with the empirical data. A series of questionnaires were used to survey factors related learning organizations of the private tertiary education institutions in the North with 689 participants. The collected data was subsequently analyzed by mean, standard deviation and multiple regression analysis. The finding of the research revealed that the 7 states of learning organizations in the private tertiary education institutions in the North were in a high level and all of the factors can predict 75.3% to learning organizations of the private tertiary education institutions. In addition, the 8 factors that influent toward learning organizations of the private tertiary education institutions in the North were statistically significant at the .01 and .05 in order and equation in standard score can be stated as follow&nbsp; : LO = 0.191 (Techno) + 0.185 (Structure) + 0.157 (Motivate) + 0.112 (Leader) + 0.092 (Admin) + 0.092 (Work) + 0.079 (Vision) + 0.060 (Develop)</p> 2019-10-22T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/204600 Relationships Among Biophysical Characteristics Of Catchment, Land Use And Management Affecting Flood Probleme, Of Huay Mae Bon Basin Mae Ta Sub-District, Mae On District, Chiangmai Province 2019-10-25T15:08:45+07:00 Budsaba Wongrat Budsabawongrat123@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The study aimed 1) to analyze the relationship of biophysical characteristics of catchment area, irrigation system, land use and management that affected flood problem of Huay Mae Bon River Basin, Mae Ta Sub-district, Mae On District, Chiang Mai Province, and 2) to study the potential and limitation of flood management of related sectors including both local organization and government sector to support problem solving and holistic integrated management. The study used 1) survey data on physical characteristics of upper catchment area, irrigation system, land-use pattern and management for data analysis, and 2) data on in-depth interview with community leader and related sectors for content analysis through interdisciplinary approach that integrated survey research with statistical data on inflow/outflow and average rainfall as well as mapping data. The result showed that flood in Huay Mae Bon River Basin was a result of two main factors causing repetitive problem. Although four factors related to the problem, biophysical characteristics of catchment area did not affect flood problem and irrigation system properly helped mitigating flood. Thus, the main cause of flood problem was land use because land use pattern of most farmers invaded public area on both sides of riverbank for making paddy because population growth increased demand for more cultivation area, which the land use pattern obstructed water flow and narrowed water channel that caused river flood into agricultural area. Another main cause of flood was the separated problem management among all sectors that lacked database connection for solving flood problem together, which it caused flood problems. Therefore, holistic approach should be used for integrating all sectors to solve flood problem together by using data on biophysical characteristics of catchment area and irrigation system as a foundation of data analysis as well as using data on land use pattern and management for solving the problem together to get effective solution and create non-partitioned operation as in the past, which the approach can potentially mitigate and effectively solve flood problem to enhance sustainability further.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; An objective of this article is to study the effects of biological characteristics of irrigated areas, irrigation systems, land use and repeatedly flooding management of Huay Mae Bon water groups. To analyze the potential and limitations of the agencies involved in the solution of flooding problems In order to find a way to prevent flooding sustainably.</p> 2019-10-25T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/185213 การเปรียบเทียบความคิดเห็นและผลสัมฤทธิ์ทางภาษาอังกฤษของนักศึกษาที่เรียนกับ อาจารย์เจ้าของภาษาและอาจารย์ชาวไทย (A Comparison of Opinions and English Proficiency between Students Studying with Native English-Speaking Teachers and Those with Non-Native English-Speaking Teachers) 2019-10-28T09:33:32+07:00 ศฬิษา วิทยาศรัย (Salisa Vidhayasai) denlings@hotmail.com สมบูรณ์ พจน์ประสาท (Somboon Pojprasat) denlings@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ในวงการศึกษาของไทยพบว่าข้อถกเถียงเรื่องผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษระหว่างครูเจ้าของภาษากับครูที่ไม่ใช่เจ้าของภาษาว่าใครเหมาะสมกว่ากันนั้น ยังไม่สามารถหาข้อยุติที่แน่ชัดได้ เนื่องจากการศึกษาในประเด็นดังกล่าวมีจำนวนน้อย ซึ่งยังทำให้ผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านนี้ขาดความเข้าใจต่อครูผู้สอนทั้งสองกลุ่มด้วย บทความนี้จึงมีจุดประสงค์ที่จะอธิบายประเด็นปัญหาดังกล่าว โดยอ้างอิงผลการศึกษาของผู้วิจัยที่เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อครูผู้สอนและผลสัมฤทธิ์ทางภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่เรียนกับอาจารย์เจ้าของภาษาและอาจารย์ชาวไทย เพื่อหาข้อดีและข้อควรปรับปรุงของอาจารย์ทั้งสองกลุ่มและเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนต่อไป ทั้งนี้ผู้วิจัยได้เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาผู้สอนเพื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นไว้ในตอนท้ายด้วย</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Over the years the choice of whether to assign native English-speaking teachers (NESTs) or non-NESTs to conduct English teaching in Thailand has been the subject of much debate. Unfortunately, research dedicated to casting more light on this problem is very scarce, thus triggering the development of misunderstanding of the two groups of teachers. The current paper aims to directly address this issue by means of an empirical study. A comparison of Thai university students who were trained by NESTs and those studying with Thai instructors was made to investigate their opinions on the instructors’ and their English proficiency. In doing so, the strengths and weaknesses of the two groups of instructors could be identified. Suggestions with regard to the development of instructors for more effective English classrooms are also given in the final section of the paper.</p> 2019-10-28T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/195240 แบบจำลองสมการโครงสร้างของอิทธิพลการจัดการทรัพยากรบุคคลต่อ ผลประกอบการของธุรกิจ (A Structural Equation Model of Human Resource Management Influences on Firm Performance) 2020-08-04T15:30:44+07:00 เกศกุฎา โกฏิกุล (Ketkuda Kotikul) ketkuda_k@hotmail.com พอพันธ์ วัชจิตพันธ์ (Porpan Vachajitpan) porpan.v@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและตรวจสอบความสอดคล้องของแบบจำลองสมการโครงสร้างของอิทธิพลการจัดการทรัพยากรบุคคลต่อผลประกอบการของธุรกิจ ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยตัวแปรแฝง 7 ตัว&nbsp; ได้แก่ การจัดการบุคลากรสัมพันธ์ การพัฒนาบุคลากร การจัดการค่าตอบแทนและรางวัล ความจงรักภักดี การแบ่งปันความรู้ ผลการปฏิบัติงานของบุคลากรและผลประกอบการของธุรกิจ&nbsp; การวิจัยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรทั้งระดับผู้บริหารและบุคลากรทั่วไปจำนวน 220 รายของบริษัทต่างๆ และนำมาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม LISREL ผลการทดสอบความสอดคล้องของแบบจำลองสมการโครงสร้างกับข้อมูลเชิงประจักษ์&nbsp; พบว่าเป็นไปตามสมมติฐานและเกณฑ์การยอมรับ ผลการศึกษาพบว่า การแบ่งปันความรู้มีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมรวมสูงสุดต่อผลประกอบการของธุรกิจ รองลงมาได้แก่ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร นอกจากนั้น การจัดการบุคลากรสัมพันธ์และการจัดการค่าตอบแทนและรางวัลมีอิทธิพลทางอ้อมต่อผลประกอบการของธุรกิจ ผ่านความจงรักภักดี การแบ่งปันความรู้และผลการปฏิบัติงานของบุคลากร&nbsp; ส่วนการพัฒนาบุคลากรมีอิทธิพลทางอ้อมต่อผลประกอบการของธุรกิจ ผ่านการแบ่งปันความรู้และผลการปฏิบัติงานของบุคลากร</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The objective of this research is to study the causal relationship and the structural equation model (SEM) of human resource management influences on firm performance. The seven latent variables are employee relationship management, employee development, employee compensation and reward, employee loyalty, knowledge sharing, employee performance and firm performance. Empirical data were obtained from a sample of 220 manager and non-manager employees of different companies. The analysis performed by using the LISREL software indicates that the proposed model confirms the hypotheses and satisfies the goodness-of-fit criteria. Results also indicate that firm performance is directly and indirectly influenced by knowledge sharing and employee performance. In addition, employee relationship management and employee compensation and reward have indirect influences through employee loyalty, knowledge sharing and employee performance. Meanwhile, employee development has indirect influence on firm performance through knowledge sharing and employee performance.</p> 2019-10-28T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/201451 พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏ กลุ่มรัตนโกสินทร์ (Innovative Behavior of Academic support Staffs at Rajabhat University Rattanakosin Group) 2019-10-28T10:37:16+07:00 เกษสุดา บูรณศักดิ์สถิตย์ (Ketsuda Buranasaksathit) ketbu@hotmail.com ชวนชื่น อัคคะวณิชชา (Chuanchuen Akkawanitcha) akkawanitcha@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการรับรู้ความสามารถของตนเอง การสนับสนุนด้านการบริหารจัดการ การสนับสนุนโดยเพื่อนร่วมงาน พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงาน และผลการดำเนินงานเชิงนวัตกรรมขององค์กร 2) ศึกษาอิทธิพลของการรับรู้ความสามารถของตนเอง การสนับสนุนด้านการบริหารจัดการ การสนับสนุนโดยเพื่อนร่วมงาน ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงาน และ 3) ศึกษาอิทธิพลของพฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงานที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานเชิงนวัตกรรมขององค์กร โดยกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงานสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ จำนวน 450 คน ซึ่งใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา และใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบจำลองสมการโครงสร้าง</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษาพบว่า ระดับ การรับรู้ความสามารถของตนเอง การสนับสนุนด้านการบริหารจัดการ การสนับสนุนโดยเพื่อนร่วมงาน และพฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงาน อยู่ในระดับมาก และผลการดำเนินงานเชิงนวัตกรรมขององค์กร อยู่ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า การรับรู้ความสามารถของตนเอง การสนับสนุนโดยเพื่อนร่วมงาน มีอิทธิพลเชิงบวกต่อพฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงาน ส่วนการสนับสนุนด้านการบริหารจัดการมีอิทธิพลเชิงลบต่อพฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงาน และพฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงานมีอิทธิพลเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานเชิงนวัตกรรมขององค์กร</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This study aims to study 1) the level of self-efficacy, management support, coworkers support, employee innovation behavior and organizational innovation performance 2) the influence of self-efficacy, management support and coworkers support on the employee innovation behavior 3) the impact of employee innovation behavior towards the organizational innovation performance. The sample are 450 academic support staffs at Rajabhat University Rattanakosin Group.The questionnaire is employed as research instrument. Data is analyzed by the structural equation model (SEM).</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The results showed that the level of self-efficacy, management support, coworkers support and employee innovation behavior are high level while organizational innovation performance is medium level. The hypothesis testing results have found that self-efficacy and coworkers support have a positive influence on employee innovation behavior, the management support has a negative influence on employee innovation behavior, and the employee innovation behavior has a positive influence on the organizational innovation performance.</p> 2019-10-28T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/182236 แนวทางการจัดกิจกรรมศิลปะแบบพหุศาสตร์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการแบบองค์รวม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (Guidelines for Multidisciplinary Art Activities to Enhance Holistic Learning of Fifth Grade Students) 2019-10-28T10:44:53+07:00 จตุพร ปทุมารักษ์ (Jatuporn Patumarak) krusai2556@gmail.com โสมฉาย บุญญานันต์ (Soamshine Boonyananta) soamshine.b@chula.ac.th <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> 2019-10-28T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/178063 โครงการออกแบบเครื่องประดับสำหรับให้กำลังใจพ่อแม่ที่มีลูกอยู่ในภาวะดาวน์ซินโดรมของบ้านปั้นดาวน์ (Jewelry Design Project To Support Parents Of Down Syndrome Children At Pan-Down House) 2019-12-18T14:09:40+07:00 จิราภรณ์ ธัญญะประเสริฐ (Jiraporn Thunyaprasert) ms.jirathun@gmail.com ปฐมาภรณ์ ประพิศพงศ์วานิช (Pathamaphorn Praphitphongwanit) ms.jirathun@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; โครงการออกแบบเครื่องประดับสำหรับให้กำลังใจพ่อแม่ที่มีลูกอยู่ในภาวะดาวน์ซินโดรมของบ้านปั้นดาวน์ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์ผลงานเครื่องประดับที่ช่วยสร้างกำลังใจให้กับพ่อแม่ที่มีลูกอยู่ในภาวะดาวน์ซินโดรม และผลงานเครื่องประดับนี้สามารถสื่อสารให้ความรู้ความเข้าใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับเด็กที่อยู่ในภาวะดาวน์ซินโดรมว่ามีความสามารถไม่ต่างจากเด็กปกติทั่วไป ซึ่งตรงกับจุดประสงค์ของบ้านปั้นดาวน์ ที่เป็นบ้านหลังเล็กๆ เกิดจากแม่ที่มีลูกอยู่ในภาวะดาวน์ซินโดรม อยากที่จะให้ลูกได้ใช้ชีวิตเหมือนเด็กปกติ จึงเกิดการรวมตัวกันของผู้ปกครองที่มีลูกอยู่ในภาวะดาวน์ซินโดรมเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการดูแลการจัดกิจกรรมเสริมสร้างพัฒนาการ รวมไปถึงการให้กำลังใจซึ่งกันและกัน</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ข้าพเจ้าจึงได้ศึกษากิจกรรมของบ้านปั้นดาวน์ และได้นำกิจกรรมดังกล่าวมาพัฒนา โดยทำกิจกรรมดังนี้ 1.กิจกรรมวาดภาพครอบครัว 2.กิจกรรมปั้นดินแม่ 3.กิจกรรมปั้นดินหัวใจ และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อสร้างสรรค์ผลงานเครื่องประดับที่แสดงออกถึงความพยายาม เป็นความทรงจำในการทำกิจกรรมนั้นๆและสามารถเป็นสื่อที่สามารถพกพาไปไหนต่อไหนได้</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผลที่ได้รับจากความรู้สึกของแม่ที่มีลูกอยู่ในภาวะดาวน์ซินโดรม เมื่อได้สวมใส่ชิ้นงานเครื่องประดับนี้ทำให้ข้าพเจ้ารู้สึกภูมิใจที่ได้สร้างสรรค์ผลงานเครื่องประดับที่ผ่านกิจกรรมศิลปะต่างๆจนเป็นชิ้นงานเครื่องประดับมีความหมาย มีคุณค่าทางจิตใจ และเพิ่มกำลังใจให้กับแม่ที่มีลูกที่อยู่ในภาวะดาวน์ซินโดรมและชิ้นงานเครื่องประดับก็สามารถเป็นสื่อในรูปแบบหนึ่งที่จะเล่าเรื่องราว ผลงาน ความสามารถของเด็กที่อยู่ในภาวะดาวน์ซินโดรมว่าเด็กที่อยู่ในภาวะดาวน์ซินโดรมนั้นสามารถทำกิจกรรมต่างๆ ได้ไม่ต่างจากเด็กปกติทั่วไป ซึ่งเป็นประสบการณ์และแนวทางให้กับพ่อแม่ที่เพิ่งจะมีลูกอยู่ในภาวะดาวน์ซินโดรม ช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับบุคคลทั่วไปได้รู้จักเด็กที่อยู่ในภาวะดาวน์ซินโดรมมากขึ้น</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; A series of Jewelry design project for ‘Baan Pun Down’ association to encourages parents of children with Down Syndrome.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The purpose is to create jewelries that help raise the encouragement for parents with children in Down Syndrome. And these jewelries are able to communicate and to increase the understanding about children who are in Down Syndrome that they are capable of doing things not that different from other normal children.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Which this project corresponds to the purpose of the ‘Baan Pun Down’ association that all parents who has children with Down Syndrome want to raise their children as normal. Therefore the integration of parents of children with Down Syndrome to exchange knowledges and caring experiences, to organise children development activities and also to encouraging each other.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; I therefore studied the activities of ‘Baan Pun Down’ association and have adopted such activities for further development by create activities as follows 1. Family drawing. 2. ‘Mother’ clay molding. 3. ‘Heart’ clay molding. After activities were held, I analyze datas and create jewelries that expresses mother and child effort which contains good memories while doing the activity together. And the jewelries can be a medium that can be carried anywhere.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results obtained from the feelings of the mother of a child with Down Syndrome while wearing this series of jewelry made me feel very proud of this creation that works through various art practices until it is a final piece of meaningful series of jewelry which could be media that shows the ability of children with Down Syndrome and also has great mental value that could raise the encouragement of the parents of children with Down Syndrome.</p> 2019-10-28T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/191034 The Antecedent of Student Expectation in Higher Education Service and The Moderating Role of Campus Locations 2019-10-28T10:58:47+07:00 Chartaya Nilplub chartaya@rmuti.ac.th Pranee Sakullikareatesima tom_pranee@hotmail.com Atcharawan Thaodon job_atcharawan@yahoo.com Sukanda Klinkajorn ow.sukanda@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The objective of this study is to examine the roles of various sources of information as the antecedents of student expectation on higher education service and to examine the moderating effect of campus location. Using structural equation modeling, the empirical results based on a representative sample of 434 undergraduate students reveal that personal needs, price, and word of mouth significantly affect student expectation on higher education service. The implications of these results suggest that university marketing communication team should keep in mind that investment on other drivers is unlikely to manipulate student expectation. They should focus more heavily on student internal desire and pricing strategies. They should also build personal connections with student’s family members and friends as they are the key influencer. Campus location significantly moderates the relationship between price and expectation. It is suggested that university could segment student according to geographical locations and socioeconomic status of that region in their marketing communication.</p> 2019-10-28T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/172245 มโนอุปลักษณ์แสดงภูตผีปีศาจหรือวิญญาณในภาษาไทย (Conceptual Metaphors of Ghost Devil or Spirit in Thai language) 2019-10-28T11:48:46+07:00 ณรงค์กรรณ รอดทรัพย์ (Narongkan Rodsap) aranyikaram_sala@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ถ้อยคำที่เป็นมโนอุปลักษณ์แสดงภูตผีปีศาจหรือวิญญาณในภาษาไทยและวิเคราะห์ระบบมโนทัศน์ของผู้ใช้ภาษาไทยจากมโนอุปลักษณ์ตามแนวทางการศึกษาของทฤษฎีภาษาศาสตร์ปริชาน โดยศึกษาข้อมูลการใช้ภาษาไทยจากข้อความในตัวบท ได้แก่ นวนิยายตีพิมพ์ 10 เรื่อง ข่าวออนไลน์ 10 ข่าว เรื่องสั้นและวรรณกรรมเยาวชนชนิดละ 7 เรื่อง รวมทั้งการ์ตูนตีพิมพ์ 7 เรื่อง โดยข้อมูลอยู่ในรูปแบบเอกสารตีพิมพ์และออนไลน์ ผลการวิจัยพบว่าถ้อยคำที่เป็นมโนอุปลักษณ์แสดงภูตผีปีศาจหรือวิญญาณในภาษาไทย มี 11 ประเภท ได้แก่ มโนอุปลักษณ์มนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอวัยวะร่างกาย มโนอุปลักษณ์วัตถุ มโนอุปลักษณ์สัตว์ มโนอุปลักษณ์ข้าศึก มโนอุปลักษณ์สิ่งที่มีอำนาจเหนือกว่า มโนอุปลักษณ์พืช มโนอุปลักษณ์ไฟ มโนอุปลักษณ์อาหาร มโนอุปลักษณ์โรค มโนอุปลักษณ์ปรากฏการณ์ธรรมชาติ และมโนอุปลักษณ์ของเหลว มโนอุปลักษณ์ดังกล่าวนี้ สะท้อนให้เห็นมโนทัศน์ภูตผีปีศาจหรือวิญญาณของเจ้าของภาษาไทย 2 ประการ คือ มโนทัศน์ถ่ายโยงแบบภวสัมพันธ์ และมโนทัศน์ถ่ายโยงแบบญาณสัมพันธ์</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aims at analyzing the conceptual metaphors of Ghost Devil or Spirit in Thai language and the conceptual system of Thai people, derived from the usage of Metaphors by Cognitive Linguistics Theory. The both data in this research are from the selected Thai published and on-line documents including 10 published novels, online news, 10 news, short stories and youth literature, 7 stories each, including 7 published comics. There are 11 kinds of conceptual metaphors of Ghost Devil or Spirit in Thai language are found, namely: The conceptual metaphors are HUMAN, especially body parts, MATERIAL, ANIMAL, ENEMY, SUPERNATURAL, PLANT, FIRE, FOOD, ILLNESS, NATURAL PHENOMENON and LIQUID metaphors respectively. The conceptual metaphor reflects 2 systems of the exciting metaphoric&nbsp;concept of Thai users; The conceptual system of ontological correspondences and the conceptual system of epistemic correspondences.</p> 2019-10-28T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/201298 การอภิปรายผลการวิจัยเชิงปริมาณสำหรับนักวิจัยมือใหม่ (Discussion writing of quantitative research results for new researchers) 2019-10-29T08:42:31+07:00 ณัฐพัชร์ อภิรุ่งเรืองสกุล (Nattaphat Apirungruengsakul) nattaphat.api@gmail.com ประสพชัย พสุนนท์ (Prasopchai Pasunon) prasopchai@ms.su.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การเขียนอภิปรายเป็นเสมือนการฉายภาพเหตุการณ์สำคัญให้ผู้อ่านเข้าใจ โดยการถ่ายทอดเรื่องราวและความคิดเห็นของผู้เขียนไปสู่ผู้อ่านด้วยภาษาเขียน หรือทำอย่างไรให้ผู้อ่านเข้าใจและรับรู้ในเนื้อหาสาระที่ผู้เขียนต้องการจะนำเสนอ ดังนั้น การเขียนอภิปรายผลการวิจัยจึงเป็นการเขียนในลักษณะของการการตีความและการอธิบายสาเหตุของการเกิดข้อค้นพบที่ได้จากการวิจัย จากนั้นพิจารณาข้อค้นพบนั้นว่ามีความสอดคล้องหรือแตกต่างจากคนอื่นที่ได้ทำการศึกษาในเรื่องเดียวกันหรือเรื่องใกล้เคียงกันมาก่อนหน้านี้ โดยใช้แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากการทบทวนวรรณกรรมมาสนับสนุนการอภิปรายว่ามีความสอดคล้องหรือแตกต่างกันอย่างไร รวมถึงอภิปรายข้อจำกัดและจุดแข็งของการวิจัยที่จะนำไปสู่ข้อเสนอแนะในทางปฏิบัติและข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป อย่างไรก็ตาม การเขียนอภิปรายผลการวิจัยถือเป็นเรื่องค่อนข้างยากเนื่องจากการอภิปรายไม่ได้มีหลักเกณฑ์และรูปแบบการเขียนที่กำหนดไว้อย่างชัดเจนโดยเฉพาะนักวิจัยมือใหม่ ดังนั้น บทความนี้จึงได้กล่าวถึงความสำคัญของการอภิปรายผลการวิจัย หลักในการเขียนการอภิปรายผลการวิจัย องค์ประกอบของการเขียนอภิปรายผลการวิจัย ขั้นตอนการเขียนอภิปรายผลการวิจัย และสิ่งที่ควรระมัดระวังในการเขียนอภิปรายผลการวิจัย เพื่อเป็นแนวทางให้นักวิจัยรุ่นใหม่สามารถนำไปประยุกต์การเขียนให้สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทของงานวิจัยของตนเอง</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Writing discussions is like projecting important events for readers to understand by conveying the stories and opinions of the author to the reader with written language or how to let the reader understand the content that the author wants to present. Therefore, the discussion of the research results is written in the manner of interpretation and explanation of the causes of the findings obtained from research. After that, consider the findings that are consistent or different from others who have studied the same or similar subjects. Including discussing the limitations and strengths of research that will lead to practical suggestions and suggestions for further research. However, the discussion of research findings is quite difficult, as the discussions do not have clear criteria and written forms. Especially for new researchers. Therefore, this article mentions to the importance, principles, elements and the process of writing discussion of research results to be the guideline for new generation researchers to apply writing to be consistent and suitable for the context of their research</p> 2019-10-29T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/187525 การอาชีวศึกษา: ทวิภาคี และทวิศึกษา (Vocational Education: Dual Vocational Education and Dual Education) 2019-11-15T16:15:06+07:00 ธนนันท์ ธนารัชตะภูมิ (Thananun Thanarachataphoom) thananun.t@ku.th นารท ศรีละโพธิ์ (Nart Srilapo) nart.s@ku.th ถวิกา เมฆอัคฆกรณ์ (Tawica Mekarkakorn) tawica.me@ku.th อุษณี ลลิตผสาน (Usanee Lalitpasan) usanee.la@ku.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การผลิตและพัฒนากำลังคนทางด้านอาชีวศึกษาเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่ง เนื่องจากทรัพยากรบุคคลทาง&nbsp; ด้านอาชีวศึกษาเป็นกำลังสำคัญในการสร้างคุณค่าทางเศรษฐกิจ เช่น การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ การทำงานภาคอุตสาหกรรม การทำงานภาคการเกษตรสมัยใหม่ อันนำไปสู่การผลิตนวัตกรรมและสร้างสรรค์เทคโนโลยี ซึ่งมีผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ดังนั้นจึงเป็นบทบาทหน้าที่ของภาคการศึกษาในการเตรียมความพร้อมเยาวชนเข้าสู่โลกทางวิชาชีพ เมื่อพิจารณาบริบทการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาในประเทศไทย พบว่า มีการเรียนการสอนอาชีวศึกษาที่มีความน่าสนใจ 2 รูปแบบ ได้แก่ (1) การศึกษาระบบทวิภาคี โดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งในสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน และเรียนภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ อาจเป็นไปได้ทั้งระบบทวิภาคีเต็มรูปแบบในพื้นที่ ระบบทวิภาคีเต็มรูปแบบนอกพื้นที่ ระบบ ทวิภาคีบางสาขาวิชา ระบบทวิภาคีจัดให้แก่พนักงานของสถานประกอบการ และระบบทวิภาคีในต่างประเทศ และ (2) การจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรทวิศึกษา ซึ่งเกิดจากความร่วมมือของสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หรือ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยเรียนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หรือ หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551) อย่างไรก็ตาม แม้การจัดการศึกษาทั้ง 2 รูปแบบนี้มีความแตกต่างกันในรายละเอียด แต่มีเป้าประสงค์ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรู้และทักษะทางปัญญา มีความสามารถในการปฏิบัติงาน ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาชีพสู่การปฏิบัติจริง</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The production and development of vocational education manpower are necessary because they can make economic prosperity by being smart enterprise, working in the industrial sector and smart farming. All of these lead to creating innovation and technology which have an effect on the expansion of economic. Thus, this is the responsibility of the educational section that should prepare students for entering the world of professional. To consider the context of vocational education in Thailand, there are two types of vocational education system that are interesting: (1) Dual Vocational Education is the system that students learn about knowledge in school and practice in private enterprise, state enterprise, or government sector (full dual vocational education in the area, full dual vocational education outside the area, dual vocational education in some subjects, dual vocational education in foreign countries) and (2) Dual Education is the program of study that corroborate between the Office of the Vocational Education Commission and the Office of the Basic Education Commission, or the Office of the Non-formal and Informal Education, or the Office of the Private Education Commission. Students study both professional certificate curriculum and basic education curriculum (Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 or Non-formal and Informal Education Core Curriculum B.E. 2551). Although both of program are not the same, the objectives of the study still emphasize on enhancing students’ moral, skill and cognitive domain, competency of work, applying knowledge and skill in their real-world situation.</p> 2019-10-29T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/168115 ความยั่งยืนต่อคุณภาพการบริการของสายการบินต้นทุนต่ำ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง (Sustainable Service Quality of the Low-Cost Airlines at Donmueng International Airport ) 2019-10-31T10:49:37+07:00 ทาคาโยชิ อูเอซึจิ (Takayoshi Uetsuji) rayrika.pk@gmail.com วราภรณ์ เต็มแก้ว (Waraporn Temkaew) takoyaki_kyu@yahoo.com อภิรดา นามแสง (Apirada Namsang) takoyaki_kyu@yahoo.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ปี 2558 รัฐบาลไทยได้มีนโยบายการเปิดน่านฟ้าเสรีของอาเซียนทำให้ธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำมีการเติบโตมากขึ้นแบบก้าวกระโดด อีกทั้งยังมีการแข่งขันกันอย่างรุนแรงโดยเฉพาะเรื่องราคาบัตรโดยสารที่ประหยัด เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามกับบุคคลที่ใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบค่าทีรายคู่ และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ผลการวิจัย พบว่า ผู้ใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำมีความคาดหวังคุณภาพการใช้บริการน้อยกว่าการรับรู้คุณภาพการใช้บริการ ทั้ง 5 ด้าน แต่มี 1 ด้านของความคาดหวังคุณภาพการใช้บริการ ได้แก่ ด้านความน่าเชื่อถือ มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ ในขณะที่การรับรู้ มี 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านความมั่นใจ และด้านการตอบสนองลูกค้า &nbsp;มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ และส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ นอกจากนี้ยังมีข้อเสนอแนะสำหรับผู้ประกอบการสายการบินต้นทุนต่ำเพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนาโดยเฉพาะเรื่องคุณภาพบริการและส่วนประสมทางการตลาด</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Open skies in ASEAN will yield a host of opportunities by the Low-cost airlines business in Thailand have growth up significantly. As a result, the Low-cost carrier’s market is a very highly competitive. The researcher was collected by questionnaires from 400 passengers traveling of low-cost airlines at Donmueng International Airport. Statistics on data analysis were comprised of descriptive statistics were percentage, mean, S.D., and inferential statistics were t-test, one-way ANOVA, paired t-test, multiple regression analysis.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results show that the customers had expectation to the service quality less than the service quality perception in all 5 aspects. However, there was only 1 aspect of expectation to the service quality that influence on the customer behaviors in using service of the low-cost airlines, such as reliabilities. Likewise, reliability, assurance, and responsiveness of the service quality perception also influence on the customer behaviors in using service of the low-cost airlines. Moreover, there were 2 aspects of marketing mix such as places and promotions that influence on the customer behaviors in using service of the low-cost airlines. in addition, this research also the suggestion for airline carriers to improving and developing, especially in terms of service quality and marketing mix.</p> 2019-10-31T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/190889 การวิเคราะห์องค์ประกอบการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชนไทยกรณีศึกษา: เยาวชนในจังหวัดเชียงราย (Media Literacy of Thai Youth Factors Analysis A Case study of Chiangrai Youth) 2019-11-04T15:13:41+07:00 วัชรี มนัสสนิท (Watcharee Manussanit) nobit29@hotmail.com จักรพันธ์ ชัยทัศน์ (Chakkaphan Chaithat) nobit29@hotmail.com พูลสุข หิงคานนท์ (Poonsuk Hingkanont) nobit29@hotmail.com กฤษณา อึดใจ (Kissana Audjai) cakecup29_54@hotmail.co.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชนจังหวัดเชียงรายโดยมี กลุ่มตัวอย่างคือ เยาวชนที่มีอายุระหว่าง 18 - 20 ปี ที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงรายจำนวน 367 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามองค์ประกอบการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชนจังหวัดเชียงราย&nbsp; และได้ตรวจสอบความเที่ยงตรงโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง0.80-1.00&nbsp; มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.98 โดยผลการวิจัยแบ่งเป็น 2 ตอน ได้แก่ตอนที่ 1&nbsp; &nbsp;ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจพบว่า องค์ประกอบการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชนจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับสื่อ 2) การรับสารอย่างมีวิจารณญาณ 3) การเลือกเปิดรับสาร 4) อิทธิพลจากผู้ปกครอง 5) ความตระหนักรู้ตนเองในขณะใช้สื่อ และ 6) การมีส่วนร่วมกับสังคมในการรับสาร ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพบว่า ค่าน้ำหนักขององค์ประกอบใหม่ ทั้ง 6 องค์ประกอบมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว่า องค์ประกอบการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชนจังหวัดเชียงรายมีความตรงเชิงโครงสร้าง และเมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง พบว่า&nbsp; ค่า Chi-square = 2179.708, Degrees of Freedom = 1402, Chi-square/Degrees of Freedom = 1.554, Comparative Fit Index (CFI) = 0.975, Standardized Root Mean Square Residual(SRMR) = 0.029, Root Mean Square Error of Approximate (RMSEA) = 0.033 แสดงว่า องค์ประกอบการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชน จังหวัดเชียงรายที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The objectives of this research were to study the factors of Chiangrai youth’s media literacy. The sample used in this research were 367 Muang of Chiangrai youth’s.&nbsp; The instrument was a questionnaire and was evaluated the content validity by 5 experts.&nbsp; Its validity and index item-objective congruence (IOC) was 0.80 - 1.00 and its reliability, Cronbach’s alpha was 0.98. The results of this study was separated into 2 parts. The first was an analyzed by exploratory factor analysis and found that four factor components are (1) Media Knowledge and Awareness (2) Critical Exposure (3) Media Exposure Selection (4) Parent Influence (5) Self Awareness and (6) Social Participation. The second was an analyzed by confirmatory factor analysis showed that the model of Chiangrai youth’s media literacy is of structural validity and consistency fitted the empirical data considering from its value as Chi-square = 2179.708, Degrees of Freedom = 1402, Chi-square/Degrees of Freedom = 1.554, Comparative Fit Index (CFI) = 0.975, Standardized Root Mean Square Residual (SRMR) = 0.029, Root Mean Square Error of Approximate (RMSEA) = 0.033.</p> 2019-11-01T00:00:00+07:00 Copyright (c) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/170912 พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือและการจัดการซากโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย (Mobile Phone Usage Behavior and Discarded Mobile Phone Management of Consumers Generation Y) 2019-11-01T11:23:12+07:00 สวรรยา ธรรมอภิพล (Sawanya Thamma-apipon) sawanya@ms.su.ac.th อลิสา เจริญรูป (Alisa Charoenroop) miew.mgj@gmail.com อารยา เกตุรวม (Araya Ketraum) paintaraya@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือและพฤติกรรมการจัดการซากโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นวาย โดยศึกษากับอาจารย์ บุคลากร นักศึกษา และผู้ประกอบการร้านค้า ในมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ที่อยู่ในเจเนอเรชั่นวาย (เกิดพ.ศ.2523 – พ.ศ.2540) จำนวน 400 คน เพื่อเป็นกรณีศึกษาสำหรับบริบทของสถานศึกษา รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุดและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำเสนอผลการศึกษาโดยการพรรณนาความ</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 65.50 <br> สถานภาพนักศึกษา ร้อยละ 86.50 อายุ 21-26 ปี ร้อยละ 87.50 ปี การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี ร้อยละ 90.50 และสถานภาพโสด ร้อยละ 93.75 พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ ส่วนใหญ่มีโทรศัพท์มือถือใช้ครั้งแรกอายุ 10-15 ปี ร้อยละ 86.50 ใช้โทรศัพท์ยี่ห้อไอโฟน ร้อยละ 51.25 อายุการใช้งานเฉลี่ย 1-3 ปี/เครื่อง ร้อยละ 70.75 ข้อคำนึงในการตัดสินใจซื้อโทรศัพท์เพราะตอบโจทย์ความต้องการ ร้อยละ 31.25 ช่วงเวลาที่ใช้ 21.01 ขึ้นไป ร้อยละ 81.00 ระยะเวลาที่ใช้ 7 ชั่วโมงขึ้นไป/วัน ร้อยละ 77.25 วัตถุประสงค์หลักในการใช้เพื่อความบันเทิงและนันทนาการ ร้อยละ 78.50 แอพพลิเคชั่นที่ใช้บ่อยที่สุดคือ เฟสบุ๊ค ร้อยละ 43.00 และระยะเวลาในการใช้ 30 นาที – 1 ชั่วโมง ร้อยละ 46.25 พฤติกรรมการจัดการซากโทรศัพท์มือถือ ส่วนใหญ่เก็บเอาไว้เฉย ๆ&nbsp; ร้อยละ 66.50 โดยจะคัดแยกออกจากขยะประเภทอื่น ร้อยละ 81.00 และจัดเก็บใส่ถุงพลาสติกทั่วไปและนำไปกำจัดโดยนำไปทิ้งยังจุดวางถังของเทศบาลหรืออบต. ร้อยละ 83.25</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aims was to mobile phone usage behavior mobile phone and was to study waste management behavior, mobile phone of Consumers Generation Y. The study conducted data collection using a questionnaire mobile phone user that is during the Generation Y (Born during the year 1980-1997). In Silpakorn University Petchaburi Information Campus, divided into 4 groups, namely, teachers, personnel, students and shop operators, 400 people. Data were analyzed using statistics, percentage, mean, maximum value, minimum value, standard deviation.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The study of general information of respondents found that most of them were female, 65.50%, with 86.50 % student status, aged between 21-26 years, 87.50%. The highest education level was 90.50% and had status Single image, 93.75%</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The behavior of the mobile phone users of the sample group found that most of them had mastered the mobile phone for the first time, aged 10-15 years, 86.50%, using the iPhone phone 51.25%. The maximum usage life is about 1-3 years, 70.75%. The consideration in making a decision to buy a phone is because it meets the most needs of 31.25%. The time spent using the phone is 21.01% and up 81.00%. The time spent using the phone is 7 hours. Up/day 77.25%. The main purpose of using phones for entertainment and recreation is 78.50%. The most frequently used applications are Facebook, 43.00% and The duration of using social networks is in the 30 minutes - 1 hour percentage. 46.25%.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The behavior of the mobile phone carcass management of the sample group found that most of the mobile phones have been worn out or expired after being kept idle. What does 66.50% do to separate from other types of waste 81.00% By sorting and storing in general plastic bags to be disposed of by dumping it at the municipal tank or the SAO 83.25%.</p> 2019-11-01T00:00:00+07:00 Copyright (c) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/183461 แรงจูงใจในการลดแก้วน้ำพลาสติกด้วยแนวคิดแก้วน้ำส่วนตัวแลกส่วนลดเครื่องดื่ม กรณีศึกษา นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Motivation to Reduce Plastic Glass with the Concept of Personal Glass Exchange Drinks Discounts A Case Study of Faculty of Management Science, Silpakorn University) 2019-11-01T11:31:37+07:00 สวรรยา ธรรมอภิพล (Sawanya Thamma-apipon) sawanya@ms.su.ac.th จันทร์ฉาย ทองรอด (Janchai Thongrord) Thongrordjanchai@gmail.com นรมน สารผล (Naramon Sarapon) mnaramon@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจของนักศึกษาในการลดแก้วน้ำพลาสติกด้วยแนวคิดแก้วน้ำส่วนตัวแลกส่วนลดเครื่องดื่ม และศึกษาปัญหาและอุปสรรคของนักศึกษาในการใช้แก้วน้ำส่วนตัวแลกส่วนลดเครื่องดื่ม ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากรชั้นปีที่ 4 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2561 จำนวน 253 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำเสนอในรูปแบบตารางและการพรรณนาความ</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 69.96 ศึกษาในสาขาการตลาด ร้อยละ 22.13 มีรายได้เฉลี่ย 5,001-6,000 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ 30.43 เคยรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ร้อยละ 58.89 ไม่เคยเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม/อบรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ร้อยละ 66.01 ไม่เคยนำแก้วส่วนตัวมาแลกส่วนลดเครื่องดื่ม 2 บาทตามนโยบายวิทยาเขตฯ ร้อยละ 60.08 เพราะเห็นว่าไม่สะดวกในการพกพา ร้อยละ 41.12 ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เคยนำแก้วส่วนตัวมาแลกส่วนลดเครื่องดื่ม 2 บาท มีเพียงร้อยละ 39.92 โดยให้เหตุผลว่าต้องการช่วยลดขยะพลาสติก ร้อยละ 20.95 และมีความเห็นว่าราคาส่วนลดเครื่องดื่ม 2 บาท มีความเหมาะสมดี ร้อยละ 68.77 พฤติกรรมการซื้อเครื่องดื่ม ส่วนใหญ่น้อยกว่า 3 ครั้ง/สัปดาห์ ร้อยละ 44.27 เมื่อศึกษาแรงจูงใจการนำแก้วน้ำส่วนตัวแลกส่วนลดเครื่องดื่ม พบว่า แรงจูงใจด้านสิ่งแวดล้อม อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.34 รองลงมาคือแรงจูงใจด้านสังคมและด้านเศรษฐกิจ อยู่ในระดับมาก มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.12 และเท่ากับ 3.83 ตามลำดับ จากการศึกษาปัญหาและอุปสรรคจะเห็นได้ว่านักศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่าการนำแก้วน้ำส่วนตัวมาใช้ ไม่สะดวกในการพกพา และกลุ่มเพื่อนก็ไม่ใช้ จึงซื้อเครื่องดื่มบรรจุแก้วพลาสติกที่ใช้แล้วทิ้ง อีกทั้งเห็นว่าส่วนลด 2 บาท แม้ว่าจะเหมาะสมดีแต่ก็ไม่สร้างแรงจูงใจเท่าที่ควร แต่หากเพิ่มส่วนลด ก็อาจจะนำแก้วน้ำส่วนตัวมาใช้ซื้อเครื่องดื่ม</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purposes of this survey research were to study undergraduates’ motivation to reduce plastic glass with the concept of personal glass exchange drinks as well as problems and obstacles occurred from conducting this study via data collection with questionnaires distributed among 253 senior undergraduates of Faculty of Management Science, Silpakorn University, Class of 2018. Data was analyzed by using statistical methods of Percentage, Mean and Standard Deviation and outcomes presented in the form of Table and descriptive explanation.&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The findings from studying demographic data of questionnaire respondents reveal that majority or 69.96% were females, and 22.13% majored Marketing , having 30.43% earned average income of 5,001-6,000 baht/month, whereas 58.89% used to receive new on environmental conservation, but 66.01% never participated in the project/activities/training on environmental conservation. There were 60.8% of respondents who had never brought personal glass exchange drinks two bahts as promoted by the campus policy and 41.12% thought of inconvenience to carry along. And only 39.92% of respondents used personal glass for discount , having 20.95% stated reason for the need to reduce plastic waste, whereas 68.77% agreed with price reduction 2 baht and majorities of respondents or 44.27% had the habit of buying drinks less than 3 days per week.</p> <p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>The findings suggest environmental motivation ranked the highest, with the Mean of&nbsp; &nbsp;4.34 followed by social and economic levels ranked high, having the Mean&nbsp; 4.12 and 3.83, respectively. Moreover, majorities of undergraduates agreed with inconvenience when brought along the personal glass for useand none of their friends used them. It is more convenience to buy the drinks in disposal plastic cup. In addition, most undergraduates commented that the discount 2 baht even reasonable, it is not sufficient to appeal to buyers. Therefore, with increasing amount of discount, they may bring along personal cup when buying drinks.</p> 2019-11-01T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/176651 การศึกษาสภาพการพัฒนาหลักสูตรออนไลน์ระบบเปิดแบบ MOOC ของมหาวิทยาลัยนเรศวร (The Study of the development of online-open courses on MOOC (Massive Online Open Courses) of Naresuan University) 2019-11-01T11:48:28+07:00 ธนวัฒน์ พูลเขตนคร (Thanawat Punkhetnakorn) thanawat@nu.ac.th สุภาณี เส็งศรี (Supanee Sengsri) supanee@nu.ac.th กอบสุข คงมนัส (Kobsuk Kongmanas) kobsuk@nu.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้ มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพการพัฒนาหลักสูตรออนไลน์ระบบเปิดแบบ MOOC ของมหาวิทยาลัยนเรศวร ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยการใช้แบบสอบถาม แบบเฉพาะกลุ่ม (focus group) โดยประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา เป็นอาจารย์ผู้ผลิตรายวิชาออนไลน์แบบ MOOC ของมหาวิทยาลัยนเรศวร ในโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทยเพื่อการจัดการเรียนการสอนในระบบเปิด (Thai-MOOC) จำนวน 13 คน เก็บข้อมูลในระหว่างวันที่ 30 พฤษศจิกายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การศึกษากระบวนการพัฒนาหลักสูตรออนไลน์ระบบเปิดแบบ MOOC ของมหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 1 ฉบับ สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัย</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1) ด้านประสบการณ์ในการพัฒนาหลักสูตรออนไลน์ พบว่า อาจารย์ผู้ผลิตรายวิชาออนไลน์แบบ MOOC ของมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการพัฒนาหลักสูตรออนไลน์มาก่อนจัดทำเนื้อหาหลักสูตรออนไลน์ระบบเปิดแบบ MOOC มีจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 84.61 ซึ่งเนื้อหาที่นำมาใช้สำหรับการออกแบบการเรียนการสอน ในหลักสูตรออนไลน์ระบบเปิดแบบ MOOC เป็นเนื้อหาที่ออกแบบการเรียนการสอนตามหลักสูตรและวิชา มีจำนวน 6 หลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 46.15 และเนื้อหาที่ออกแบบการเรียนการสอนตามความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน มีจำนวน 7 หลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 53.85</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2) ด้านกระบวนการพัฒนาหลักสูตรออนไลน์ระบบเปิดแบบ MOOC พบว่า การจัดอบรมให้ความรู้ ด้านการพัฒนาความรู้ด้านการจัดการเรียนการสอน ความรู้ด้านการพัฒนาสื่อการสอน ในหลักสูตรออนไลน์ระบบเปิดแบบ MOOC สำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องในการผลิตรายวิชา ช่วยให้ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ “ปานกลาง” ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp;= 3.35 และ S.D. = 0.90) และความสามารถในการจัดการด้านการผลิตเนื้อหาออนไลน์แบบ MOOC มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ “ปานกลาง” ( &nbsp;<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.38 และ S.D. = 0.68) จากการศึกษาวิจัย พบว่า มหาวิทยาลัยนเรศวร มีทีมสนับสนุนในด้านเทคนิคมีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญ ซึ่งทำให้มีการออกแบบการเรียนการสอนแบบ MOOC ประสบความสำเร็จ โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ “มาก” ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp;= 4.08 และ S.D. = 0.86)</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The research aimed to study the environment of development for the opened-online course at Naresuan University. The research is survey method by questionnaire on focus group during November 30, 2018 – December 31, 2018. The participant is the instructor who creates an opened-online course by MOOC(Massive Open Online Course) from Naresuan University in the development project of opened-online course for cyber university of Thailand developing course, that includes 13 people. The instruments used in this study was a questionnaire for the development process study in the opened-online course at Naresuan University. The data were analyzed such statistics as the percentage, arithmetic mean and standard deviation.</p> <p>&nbsp;The result of the study on</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1) The experience of production online course from the instructor at Naresuan University were showed that instructors had the experience to produce online course before made content on the opened-online course were 11 people, representing 84.61 percentage. the content used in the opened-online course had 6 courses, representing 46.15 percentage and the content designed for instructional based on specific expertise is 7 courses, representing 53.85 percent.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2) development process in opened-online course by MOOC, such as knowledge training on 2.1) Instructional-knowledge development and 2.2) medium for instructional development for participants in production process showed that can helping the trainers to had knowledge at the "moderate" level ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp;= 3.35 and S.D. = 0.90) and the ability to manage online production content. MOOC has the currency at "moderate" ( &nbsp;<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp;= 3.38 and S.D. = 0.68). Both results were shown on the "moderate" level because Naresuan University had support-senior team to consult trainers in the production process, accordingly instructional on opened-online course be successes at the "high" level (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 4.08 and S.D. = 0.86)</p> 2019-11-01T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/166889 การวางตำแหน่งทางการตลาดของตราสินค้าเฟอร์นิเจอร์สำหรับที่อยู่อาศัย จากการรับรู้ของผู้บริโภคในประเทศไทย (Brand Positioning Of The Home FurnitureThrough Consumers’ Perceptions In Thailand) 2019-11-01T11:58:47+07:00 ธรรมรัตน์ ถนอมในเมือง (Thammarat Thanormnaimuang) joshep.tt@gmail.com ทิพย์รัตน์ แสงเรืองรอบ (Tibrat Sangroengrob) sangroengrob@stamford.edu <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความเหมือนและความแตกต่างในการวางตำแหน่งทางการตลาดจากคุณลักษณะสำคัญ ของคุณภาพผลิตภัณฑ์ตราสินค้าเฟอร์นิเจอร์สำหรับที่อยู่อาศัย 4 ตราสินค้าชั้นนำ ได้แก่&nbsp; อินเด็กซ์ ลิฟวิ่งมอลล์ เอสบี ดีไซน์สแควร์&nbsp; โมเดิร์นฟอร์ม และอิเกีย จากการรับรู้ของผู้บริโภคในประเทศไทย&nbsp; ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างตราสินค้าละ 250 ตัวอย่าง รวม 1000 ตัวอย่าง และนำมาวิเคราะห์ด้วย การวิเคราะห์พหุมิติ&nbsp; และการวิเคราะห์การสมนัย แสดงผลด้วยแผนที่การรับรู้</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิเคราะห์พหุมิติ&nbsp; พบว่ามีการรับรู้จากผู้บริโภคแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1)อินเด็กซ์ ลิฟวิ่งมอลล์ และเอสบี ดีไซน์สแควร์ มีความเหมือนกันมากที่สุด และมีแนวโน้มเป็นคู่แข่งกัน&nbsp; 2)โมเดิร์นฟอร์ม ผู้บริโภครับรู้ว่ามีความเหมือนกับกลุ่มที่ 1 รองลงมาและมีแนวโน้มที่จะเป็นคู่แข่งกับกลุ่มที่ 1 เช่นกัน แต่น้อยกว่าคู่แข่งของกลุ่มที่ 1&nbsp; และ3)อิเกีย ผู้บริโภครับรู้ว่ามีความแตกต่างและมีแนวโน้มที่ไม่ได้เป็นคู่แข่งกับกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ส่วนผลการวิเคราะห์การสมนัยพบว่า มีการรับรู้จากผู้บริโภคแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1)อินเด็กซ์ ลิฟวิ่งมอลล์ และเอสบี ดีไซน์สแควร์ มีความเข้มแข็งใน 4 คุณลักษณะ คือ คุณสมบัติ ตรงตามมาตรฐาน&nbsp; สุนทรียภาพ และการบริการ &nbsp;2)โมเดิร์นฟอร์มมีความเข้มแข็งในคุณลักษณะด้าน ความน่าเชื่อถือและความทนทาน และ 3)อิเกีย มีความเข้มแข็งในคุณลักษณะด้านการรับรู้คุณภาพ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The objectives of this research were analyzed the similarity and dissimilarity on brand positioning from the key attributes of product quality that effect on brand positioning of four leading product brands which were Index Livingmall,&nbsp; SB Design Square,&nbsp; Modernform and IKEA through consumers’ perceptions in Thailand.&nbsp; Researcher gathered data from sampling groups by using 250 samples per each brand which came to a total of 1000 samples. The data was analyzed by multidimensional scaling analysis(MDS) and correspondence analysis(CA), the result displayed by perceptual maps.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The analysis by multidimensional scaling analysis, It was found that consumers were divided into 3 groups as follows: 1) Index Livingmall and SB Design Square are the most similar. And tend to be competitors 2) Modernform Consumers perceive that there is a similarity to group 1, followed by and tend to be competitors with group 1 as well but less than competitors of group 1 &nbsp;and 3) IKEA consumers perceive that there are differences and Likely not being a competitor to Group 1 and Group 2.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Whereon the analysis by correspondence analysis, it was found that the perceptions from the consumers were divided into 3 groups as follows: 1) Index Livingmall and SB Design Square are strengthened in 4 attributes, which are; Feature, Conformance, Aesthetics and Serviceability were strengthened; 2)Modernform are strengthened in Reliability and Durability;&nbsp; and 3)IKEA which the consumers had perceived that the Perceived Quality was strengthened.</p> 2019-11-01T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/164113 ปัจจัยการยอมรับและการใช้งานแพลตฟอร์มเทคโนโลยีการทำงานร่วมกันของ กลุ่มบุคคลเจเนอเรชั่นซี (Factors Affecting Acceptance and Use of Collaboration Technology Platforms of the Generation Z) 2019-11-01T12:49:14+07:00 ธาดาธิเบศร์ ภูทอง (Thadathibesra Phuthong) thadathibesra@gmail.com ธิดาทิพย์ ปานโรจน์ (Tidathip Panrod) thadathibes@ms.su.ac.th จิโรจ โชติศิริคุณวัฒน์ (Jiroj Chotisirikunnawat) tidathip@ms.su.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง 1) ผลกระทบของปัจจัยด้านความคาดหวังในประสิทธิภาพ ความคาดหวังในความพยายาม อิทธิพลทางสังคม สภาพสิ่งอำนวยความสะดวกสบายในการใช้งาน และความเข้ากันได้ที่ส่งผลต่อการยอมรับและใช้งานแพลตฟอร์มเทคโนโลยีการทำงานร่วมกันของกลุ่มบุคคลเจเนอเรชั่นซี และ 2) อิทธิพลทางตรงและอิทธิพลรวมของปัจจัยด้านความคาดหวังในประสิทธิภาพ ความคาดหวังในความพยายาม อิทธิพลทางสังคม สภาพวิ่งอำนวยความสะดวกสบายในการใช้งาน และความเข้ากันได้ที่ส่งผลต่อการยอมรับและใช้งานแพลตฟอร์มเทคโนโลยีการทำงานร่วมกันของกลุ่มบุคคลเจเนอเรชั่นซี เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ แบบสอบถามซึ่งพัฒนามาจากการทบทวนวรรณกรรม และการตรวจสอบความเที่ยง โดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคอัลฟ่า แบบสอบถามได้กระจายแก่กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นกลุ่มบุคคลเจเนอเรชั่นซี และมีประสบการณ์ในการใช้แพลตฟอร์มเทคโนโลยีการทำงานร่วมกัน จำนวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบง่าย วิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้างด้วยเทคนิควิธี Partial Least Square</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านความเข้ากันได้เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่ส่งผลเชิงบวกต่อการยอมรับและใช้งานแพลตฟอร์มเทคโนโลยีการทำงานร่วมกันของกลุ่มบุคคลเจเนอเรชั่นซี นอกจากนี้ ปัจจัยด้านความเข้ากันได้ยังมีอิทธิพลทางตรงต่อการยอมรับและใช้งานแพลตฟอร์มเทคโนโลยีการทำงานร่วมกันของกลุ่มบุคคลเจเนอเรชั่นซี มากที่สุด (DE=0.618, P&lt; 0.001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purposes of this study were to investigate 1) the effect of performance expectancy, effort expectancy, social influence, facilitating conditions and compatibility on acceptance and use of collaboration technology platforms of the generation Z; and 2) the direct effect and total effect of performance expectancy, effort expectancy, social influence, facilitating conditions and compatibility on acceptance and use of collaboration technology platforms of the generation Z. The study used a questionnaire developed by reviewing the literature and test the reliability by coefficient alpha. The questionnaire was distributed to 400 samples that have experience in the use of collaboration technology platforms by simple random sampling. The Structural equation model analysis by Partial Least Squares technique.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results showed that the most factor that have a statistically significant positive effects on acceptance and use of collaboration technology platforms of the generation Z was the compatibility. Moreover, the compatibility had a statistically significant direct effect on acceptance and use of collaboration technology platforms of the generation Z (DE=0.618, P &lt; 0.001).</p> 2019-11-01T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/173180 รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่าน การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บนแพลตฟอร์มสื่อสังคม (A Causal Relationship of Factors Affecting Online Purchase Intention through E-Commerce on Social Media Platform) 2019-11-01T13:12:38+07:00 ธาดาธิเบศร์ ภูทอง (Thadathibesra Phuthong) thadathibesra@gmail.com สุทธิดา หรุ่นเกษม (Suthida Roonkasem) thadathibes@ms.su.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง 1) ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งต่อความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บนแพลตฟอร์มสื่อสังคม และ 2) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บนแพลตฟอร์มสื่อสังคม เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งพัฒนามาจากการทบทวนวรรณกรรม และการตรวจสอบความเชื่อมั่นโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคอัลฟ่า แบบสอบถามได้กระจายแก่กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านทางเว็บไซต์โซเชียลคอมเมิร์ซ จำนวน 230 คน จากนั้นทำการวิเคราะห์โมเดลการวัด และวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างก่อนการทำการตรวจสอบสมมติฐานด้วยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติแบบเส้นทางกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน (Partial Least Square: PLS)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บนแพลตฟอร์มสื่อสังคมมากที่สุด คือ การประเมินถึงความรู้ความเข้าใจ รองลงลงมา คือ การประเมินถึงอารมณ์และความรู้สึก และความเชื่อมั่นในคำแนะนำผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ โดยการเรียนรู้ข้อมูลจากคำแนะนำทางสื่อสังคมออนไลน์ (DE=0.412, P&lt;0.01) การเรียนรู้ข้อมูลจากการอ่านการให้คะแนนและการรีวิวสินค้า (DE=0.333, P&lt;0.01) และการเรียนรู้ข้อมูลจากการอ่านกระทู้และห้องสนทนา (DE=0.153, P&lt;0.05) มีอิทธิพลทางตรงต่อการประเมินถึงความรู้ความเข้าใจ และการเรียนรู้ข้อมูลจากคำแนะนำทางสื่อสังคมออนไลน์ (DE=0.435, P&lt;0.01) การเรียนรู้ข้อมูลจากการอ่านการให้คะแนนและการรีวิวสินค้า (DE=0.210, P&lt;0.05) และการเรียนรู้ข้อมูลจากการอ่านกระทู้และ ห้องสนทนา (DE=0.209, P&lt;0.01) มีอิทธิพลทางตรงต่อการประเมินถึงอารมณ์และความรู้สึก ในขณะที่การเรียนรู้ข้อมูลจากคำแนะนำทางสื่อสังคมออนไลน์ (DE=0.663, P&lt;0.01) มีอิทธิพลทางตรงต่อความเชื่อมั่นในคำแนะนำผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ การประเมินถึงความรู้ความเข้าใจ (DE=0.346, P&lt;0.01) การประเมินถึงอารมณ์และความรู้สึก&nbsp; &nbsp; &nbsp; (DE=0.322, P&lt;0.05) และความเชื่อมั่นในคำแนะนำผลิตภัณฑ์ (DE=0.241, P&lt;0.01) ยังมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บนแพลตฟอร์มสื่อสังคม ตามลำดับ และยังพบว่าการเรียนรู้ข้อมูลจากคำแนะนำทางสื่อสังคมออนไลน์ (IE=0.442, P&lt;0.01) การเรียนรู้ข้อมูลจากการอ่านการให้คะแนนและการรีวิวสินค้า (IE=0.183, P&lt;0.05) และการเรียนรู้ข้อมูลจากการอ่านกระทู้และห้องสนทนา (IE=0.120, P&lt;0.05) มีอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บนแพลตฟอร์มสื่อสังคมโมเดลสมการโครงสร้างสามารถอธิบายผลของความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บนแพลตฟอร์มสื่อสังคม ได้ร้อยละ 68.40 (R<sup>2</sup>=0.684, R<sup>2</sup>adj=0.680) จากผลการวิจัยเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการธุรกิจออนไลน์ผ่านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บนแพลตฟอร์มสื่อสังคมในการเพิ่มระดับความตั้งใจซื้อสินค้า โดยผ่านการประเมินถึงความรู้ความเข้าใจ การประเมินถึงอารมณ์และความรู้สึก และความเชื่อมั่นในคำแนะนำผลิตภัณฑ์ ที่เกิดขึ้นจากการการเรียนรู้ข้อมูลจากคำแนะนำทางสื่อสังคมออนไลน์ การเรียนรู้ข้อมูลจากการอ่านการให้คะแนนและการรีวิวสินค้า และการเรียนรู้ข้อมูลจากการอ่านกระทู้และห้องสนทนา ตามลำดับ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research aims to study 1) the factors that influence online purchase intention through e-commerce on social media platform and 2) a causal model in the online purchase intention through e-commerce on social media platform. The study used a questionnaire developed by reviewing the literature and testing the reliability using coefficient alpha. The questionnaire was distributed to 230 samples who buy products and goods from social commerce website. Then analysis the measurement model and structural equation modeling before hypotheses testing by Partial Least Square Structural Equation Modeling (PLS-SEM) with SmartPLS software.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The result showed that the most influential factor affecting online purchase intention through e-commerce on social media platform is cognitive appraisal, followed by affective appraisal, and trust in product recommendation, respectively. Learning from social recommendations (DE=0.412, P&lt;0.01) had a statically significant direct effects on cognitive appraisal, followed by learning from rating and reviews (DE=0.333, P&lt;0.01) and learning form forums and communities (DE=0.153, P&lt;0.05), respectively. And Learning from social recommendations (DE=0.435, P&lt;0.01) had a statically significant direct effects on affective appraisal, followed by learning from rating and reviews (DE=0.210, P&lt;0.05) and learning form forums and communities (DE=0.209, P&lt;0.01), respectively. Whereas learning from social recommendations (DE=0.663, P&lt;0.01) had a statically significant direct effects on trust in product recommendation. Moreover, the cognitive appraisal (DE=0.346, P&lt;0.01), affective appraisal (DE=0.322, P&lt;0.05), and trust in product recommendation (DE=0.241, P&lt;0.01) had a statically significant direct effects on online purchase intention through e-commerce on social media platform. Additionally, learning from social recommendations (IE=0.442, P&lt;0.01), learning from rating (IE=0.183, P&lt;0.05), and reviews learning form forums and communities (IE=0.120, P&lt;0.05) had a statically significant indirect effects on online purchase intention through e-commerce on social media platform. The structural equation model can explain the effect to online purchase intention through e-commerce on social media platform at 68.40 percent (R<sup>2</sup>=0.684, R<sup>2</sup>adj=0.680). The results of this research are beneficial to online business entrepreneurs through e-commerce on social media platform to increase purchase intention through the cognitive appraisal, affective appraisal, and trust in product recommendation by learning from social recommendations, learning from rating, and reviews learning form forums and communities, respectively.</p> 2019-11-01T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/190472 รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยคุณลักษณะเชิงจิตวิทยาที่ส่งผลต่อความตั้งใจ ที่จะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรุ่นเยาว์ของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ (The Causal Relationship Model of Factors of Psychological Characteristics affecting the Youth Digital Business Entrepreneurial Intention among BBA Students) 2019-11-01T15:03:48+07:00 ธาดาธิเบศร์ ภูทอง (Thadathibesra Phuthong) thadathibesra@gmail.com น้องหญิง สุมาลัย (Nongying Sumalai) thadathibes@ms.su.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยคุณลักษณะเชิงจิตวิทยาที่มีผลกระทบต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรุ่นเยาว์ของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ และรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยคุณลักษณะเชิงจิตวิทยาที่ส่งผลต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรุ่นเยาว์ของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งพัฒนามาจากการทบทวนวรรณกรรม และการตรวจสอบความเชื่อมั่น โดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าครอนบาค แบบสอบถามได้กระจายแก่กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักศึกษาในระดับปริญญาตรีด้านการบริหารธุรกิจ จำนวน 153 คน จากนั้นทำการวิเคราะห์โมเดลการวัด และวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างก่อนการทำการตรวจสอบสมมติฐานด้วยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติแบบเส้นทางกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน (Partial Least Square: PLS) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SmartPLS</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยคุณลักษณะเชิงจิตวิทยาที่ส่งผลต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรุ่นเยาว์ของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจมากที่สุด คือ ความต้องการความสำเร็จ โดยการคิดเชิงนวัตกรรมมีอิทธิพลทางตรงต่อความต้องการความสำเร็จ และยังมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรุ่นเยาว์ของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ และความอดทนต่อความไม่ชัดเจนมีอิทธิพลทางตรงต่อความต้องการความสำเร็จ และยังมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรุ่นเยาว์ของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ นอกจากนี้ ความต้องการความสำเร็จยังมีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรุ่นเยาว์ของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ ในขณะที่การคิดเชิงนวัตกรรมและความอดทนต่อความไม่ชัดเจนไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรุ่นเยาว์ของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ โมเดลสมการโครงสร้างสามารถอธิบายผลของความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรุ่นเยาว์ของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ ได้ร้อยละ 21.70 (R<sup>2</sup>=0.217,R<sup>2</sup><sub>adj</sub>=0.201) จากผลการวิจัยเป็นประโยชน์ต่อสถาบันการศึกษา หน่วยบ่มเพาะธุรกิจ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการเพิ่มระดับความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรุ่นเยาว์ของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ โดยผ่านความต้องการความสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการคิดเชิงนวัตกรรมและความอดทนต่อความไม่ชัดเจน ตามลำดับ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research set to study the effect of psychological factors on youth digital business entrepreneurial intention among BBA students and a causal model of factors of psychological characteristics affecting the youth digital business entrepreneurial intention among BBA students. The study used a questionnaire developed by reviewing the literature and testing the reliability using coefficient alpha. The questionnaire was distributed to 153 samples of BBA students. Then analysis the measurement model and structural equation modeling before hypotheses testing by Partial Least Square Structural Equation Modeling (Partial Least Square: PLS-SEM) with SmartPLS software.</p> <p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>The results found that the most influential psychological factor affecting youth digital business entrepreneurial intention among BBA students is need for achievement. Which the innovative thinking directly affected need for achievement and indirectly influenced youth digital business entrepreneurial intention among BBA students. And the tolerance for ambiguity directly affected need for achievement and indirectly influenced youth digital business entrepreneurial intention among BBA students. In addition found that the need for achievement directly affected youth digital business entrepreneurial intention among BBA students. While the innovative thinking and tolerance for ambiguity did not directly affect the youth digital business entrepreneurial intention among BBA students. The structural equation model can explain youth digital business entrepreneurial intention among BBA students at 21.70 percent (R<sup>2</sup>=0.217, R<sup>2</sup><sub>adj</sub>=0.201). The results of this research are beneficial to educational institution, business incubator and stakeholder to increase the youth digital business entrepreneurial intention among BBA students through the need for achievement by innovative thinking and tolerance for ambiguity, respectively.</p> 2019-11-01T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/193515 ผลกระทบของการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการต่อการรู้คิดและความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรมของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ ชั้นปีที่ 4 (The Impact of Entrepreneurial Training on Technology and Innovation-Based Entrepreneurial Cognition and Intention of the Fourth Year Business Students) 2019-11-01T15:09:22+07:00 ธาดาธิเบศร์ ภูทอง (Thadathibesra Phuthong) thadathibesra@gmail.com ทนันชัย วัฒนชัยประเสริฐ (Tananchai Wattanachaiprasert) thadathibes@ms.su.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลกระทบของการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการต่อการรู้คิดและความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรมของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ ชั้นปีที่ 4 และรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ ที่ส่งผลต่อการรู้คิดและความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรมของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ ชั้นปีที่ 4 เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ แบบสอบถามซึ่งพัฒนามาจากการทบทวนวรรณกรรม และการตรวจสอบความเชื่อมั่น โดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าครอนบาค แบบสอบถามได้กระจายแก่กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในหลักสูตรทางด้านบริหารธุรกิจ ชั้นปีที่ 4 จำนวน 220 คน จากนั้นทำการวิเคราะห์โมเดลการวัด และวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างก่อนการทำการตรวจสอบสมมติฐานด้วยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติแบบเส้นทางกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน (Partial Least Square: PLS-SEM) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SmartPLS</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการเป็นปัจจัยที่ส่งผลเชิงบวกต่อการรับรู้ความสามารถตนเอง การรับรู้ความเป็นไปได้ทางธุรกิจและการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ นอกจากนี้ การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการยังเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่ส่งผลเชิงบวกต่อความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรมของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ ชั้นปีที่ 4 รองลงมาคือ การรับรู้ความเป็นไปได้ทางธุรกิจและการรับรู้ความสามารถของตนเอง ตามลำดับ โดยการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการมีอิทธิพลทางตรงต่อการรับรู้ความสามารถของตนเอง และยังมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการและการรับรู้ความเป็นไปได้ทางธุรกิจและอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ในขณะที่การรับรู้ความสามารถของตนเองมีอิทธิพลทางตรงต่อการรับรู้ความเป็นไปได้ทางธุรกิจและยังมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการและความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยการรับรู้ความเป็นไปได้ทางธุรกิจมีอิทธิทางตรงต่อการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ และยังมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรม นอกจากนี้ ยังพบว่าการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการมีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรม โมเดลสมการโครงสร้างสามารถอธิบายผลของความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรมของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ&nbsp; ชั้นปีที่ 4 ได้ร้อยละ 64.80 (R<sup>2</sup> = 0.648, R<sup>2</sup>adj = 0.644 ) จากผลการวิจัยเป็นประโยชน์ต่อสถาบันการศึกษา&nbsp; ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการเพิ่มระดับความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรมของนักศึกษาด้านการบริหารธุรกิจ ชั้นปีที่ 4 &nbsp;โดยผ่านการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการที่เกิดจากการรับรู้ความเป็นไปได้ทางธุรกิจ การการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ และการรับรู้ความสามารถของตนเอง ตามลำดับ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research set to study the impact of entrepreneurial training on technology and innovation-based entrepreneurial cognition and intention of the fourth year business students and a causal model of entrepreneurial training affecting technology and innovation-based entrepreneurial cognition and intention of the fourth year business students. The study used a questionnaire developed by reviewing the literature and testing the reliability using coefficient alpha. The questionnaire was distributed to 220 samples of the fourth year business students. Then analysis the measurement model and structural equation modeling before hypotheses testing by Partial Least Square Structural Equation Modeling (Partial Least Square: PLS-SEM) with SmartPLS software.</p> <p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>The results found that the entrepreneurial training had the factor that positively effects on perceived self-efficacy, perceived feasibility and entrepreneurial orientation. Moreover, the entrepreneurial orientation had the most influential factor that positively effects on technology and innovation-based entrepreneurial Intention of the fourth year business students, followed by perceived feasibility and perceived self-efficacy, respectively. Which the entrepreneurial training directly affected perceived self-efficacy as well as directly and indirectly influenced entrepreneurial orientation and perceived feasibility also indirectly influenced technology and innovation-based entrepreneurial Intention. Whereas the perceived self-efficacy directly affected perceived feasibility as well as directly and indirectly influenced entrepreneurial orientation and technology and innovation-based entrepreneurial Intention. Which the perceived feasibility directly affected entrepreneurial orientation as well as directly and indirectly influenced technology and innovation-based entrepreneurial Intention. In addition found that the entrepreneurial orientation directly affected technology and innovation-based entrepreneurial Intention. The structural equation model can explain technology and innovation-based entrepreneurial Intention of the fourth year business students at 64.80 percent (R<sup>2</sup>=0.648, R<sup>2</sup><sub>adj</sub>=0.644). The results of this research are beneficial to educational institution, business incubator and stakeholder to increase technology and innovation-based entrepreneurial Intention of the fourth year business students through the entrepreneurial orientation by perceived feasibility, entrepreneurial training, and perceived self-efficacy, respectively.</p> 2019-11-01T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/192006 เทคโนโลยีและนวัตกรรมกับการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล (Technology and Innovation for Instructional in Digital Ages.) 2020-01-07T09:59:14+07:00 ธานินทร์ อินทรวิเศษ (Thanin Intharawiset) nhongtt@gmail.com ธนวัตน์ พูลเขตนคร (Thanawat Phulketnakhon) thanawat@nu.ac.th ธนวัตน์ เจริญษา (Thanawat Charoensa) Thanawatj@nu.ac.th นิตยา นาคอินทร์ (Nittaya Nak-in) nittaya.nak@pcru.ac.th Augustine Agbi thanini61.email@nu.ac.th ภาสกร เรืองรอง (Passakorn Reaung-Rong) ccpasskn@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกในยุคสมัยปัจจุบัน ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่เกิดความผันผวนอย่างรวดเร็วและรุนแรง โดยมีเทคโนโลยีเป็นตัวกลางชีวิตความเป็นอยู่ของคนกับดิจิทัล ประเทศไทยในปัจจุบันก้าวเข้าสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) ที่นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศหรืออินเทอร์เน็ตเข้ามาแก้ปัญหาและช่วยอำนวยกิจกรรมทางเศรษฐกิจในทุกภาคส่วน ส่งผลโดยตรงกับวิถีชีวิตกับคนในสังคมยุคสมัยใหม่ที่จำเป็นต้องปรับตัวไปพร้อมกับเทคโนโลยีดิจิทัล โดยมีเทคโนโลยีเป็นฐานความรู้คอยอำนวยความสะดวกและปัจจัยสำคัญในการดำเนินชีวิตในสิ่งแวดล้อมดิจิทัล</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เทคโนโลยีดิจิทัลส่งผลให้คนในสังคมต้องปรับตัวเข้าสิ่งแวดล้อมดิจิทัล ซึ่งสะท้อนถึงวิธีการเรียนในปัจจุบัน ที่มีอิทธิพลจากเทคโนโลยีดิจิทัล การเรียนการสอนได้สร้างรอยต่อจากห้องเรียนสู่การเรียนรู้ในบริบทจริงผ่านช่องทางสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และโลกออนไลน์ และเป็นตัวผลักดันที่สำคัญในการสร้างแรงจูงใจที่สำคัญในการเรียนรู้ ในมุมมองภาคการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนเป็นอย่างมากโดยตรง สามารถเป็นเครื่องมือในการขยายโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับคนทุกเพศทุกวัย ทุกอาชีพ แต่ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีดิจิทัลจะเปลี่ยนรูปแบบวิธีการในการเรียนรู้ ทำให้งานที่ยุ่งยากง่ายขี้น และปรับกระบวนการเรียนรู้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียน แต่ก็ยังจะไม่สามารถแทนที่ครูได้ในอนาคตอันใกล้นี้ ดังนั้นการศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงในลักษณะต่าง ๆ ทั้งในด้านลักษณะของผู้เรียนที่เปลี่ยนแปลงไปอันเป็นผลมาจากเทคโนโลยีดิจิทัล รวมไปถึงเทคโนโลยีดิจิทัลส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอนในยุคสมัยปัจจุบันและในอนาคตนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อให้ได้ทราบถึงแนวทางในการปรับเปลี่ยนวิธีการ รูปแบบในการเรียนการสอน และรวมไปถึงการปรับตัวของครูผู้สอนให้เหมาะสมตามรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียนและทำความเข้าใจนวัตกรรมใหม่ๆ ตัวผู้สอนเองจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องตระหนักถึงการสอนคุณธรรมจริยธรรม และสร้างเสริมทักษะให้ผู้เรียนมีทักษะชีวิตที่จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตเอาตัวรอดอยู่ในยุคดิจิทัลนั่นเอง</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The rapid change of the world in the present era. As well as changing environmental conditions that cause rapid and severe fluctuations from technology. Technology is a medium, as the center of people's lives. Whereas Thailand digital age is currently stepping into the digital economy that uses information technology and the internet to solve problems and help economic activities in all sectors. Directly affecting the way of life with people in modern society that need to adapt to digital technology by technology as a knowledge base to facilitate and important factors in living in a digital environment.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Effective of Digital technology with people in society having to adapt to the digital environment. Which reflects current learning methods that were influenced by digital technology. Teaching and learning have created the boundaries from the classroom to learn in the real context through communication channels, computer networks, and the online world. That is an important driving force in creating important motivation for learning. In the education sector view, Digital technology has caused a lot of changes in the learning behavior of learners. It’s can be tools for expanding educational opportunities, promote lifelong learning for people of all ages and all the professions. Even though digital technology changes the way of learning, makes the job easy and adjust the learning process to benefit students. But digital technology still cannot replace teachers soon. Therefore, the study of changes in various aspects results of digital technology toward effective on characteristics of learners, teaching method and instructional model that have changed in modern times and in the future, it is very necessary. In order to be aware of the ways to change the method Teaching styles, include the adaptation of teachers to be appropriate according to the learner's learning style and to understand new innovations. The teacher himself is necessary to be aware of moral and ethical teaching. And create skills for learners to have life skills that can be applied to life, survive in the digital age itself.</p> 2019-11-01T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/197336 พฤติกรรมการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเจ้าหน้าที่ สังกัดกองมหาดเล็ก สำนักพระราชวัง (Lifestyle Behaviors in Accordance with Philosophy of Sufficiency Economy for Officers under the Chamberlain Division in Bureau of the Royal Household) 2019-11-05T13:36:24+07:00 ปทิตตา ใจดี (Patita Jaidee) bbee_kong09@hotmail.com กอบกุล วิศิษฏ์สรศักดิ์ (Kobkun Visitsorasak) gradsu.jr@gmail.com มยุรี วัดแก้ว (Mayuree Watkaew) gradsu.jr@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของเจ้าหน้าที่สังกัดกองมหาดเล็ก สำนักพระราชวัง 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของเจ้าหน้าที่สังกัดกองมหาดเล็ก สำนักพระราชวัง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงาน กองมหาดเล็ก สำนักพระราชวัง จำนวน 182 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นอย่างเป็นสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น 0.914 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่&nbsp; ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">พฤติกรรมการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เจ้าหน้าที่สังกัดกองมหาดเล็ก สำนักพระราชวัง โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าข้อที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับมากที่สุด ได้แก่&nbsp; ด้านเงื่อนไขคุณธรรม รองลงมา ได้แก่ ด้านการมีภูมิคุ้มกันในตัวเองด้านการมีเหตุผลด้านเงื่อนไขความรู้ ด้านความพอประมาณตามลำดับ</li> <li class="show">ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของเจ้าหน้าที่สังกัดกองมหาดเล็ก สำนักพระราชวัง ได้แก่ ด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (X<sub>7</sub>) ด้านความตระหนักในคุณค่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (X<sub>9</sub>) ด้านอายุ (X<sub>2</sub>) ด้านการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากแหล่งเรียนรู้ที่มีการปฏิบัติจริง (X<sub>10</sub>) ด้านความรู้ความเข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (X<sub>8</sub>) มีประสิทธิภาพในการทำนายร้อยละ 79.30 ดังสมการ <sub>tot</sub> = .474 + .359 (X<sub>7</sub>) + .251 (X<sub>9</sub>) + -.050 (X<sub>2</sub>) + .083 (X<sub>10</sub>) + -.197 (X<sub>8</sub>)</li> </ol> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aimed to study: 1) lifestyle behaviors according to the philosophy of sufficiency economy for the officers of Chamberlain Division in Bureau of the Royal Household, and 2) factors affecting the lifestyle behaviors according to the philosophy of sufficiency economy for the officers of Chamberlain Division in Bureau of the Royal Household. The sample group used in the research consisted of 182 civil servants, employees, and personnel of the Chamberlain Division of the Bureau of Royal Household, selected by using proportional stratified sampling method. The research instrument was a questionnaire with reliability at the 0.914 level. The data were analyzed by computing frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis.</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The research results were as follows:</p> <ol> <li>Lifestyle behaviors according to the philosophy of sufficiency economy of the personnel under Chamberlain Division, Bureau of Royal Household were overall at a high level. When considering each aspect, it was found that the aspect with the highest mean was the virtue condition, followed by the self-immunity, reasonableness, knowledge condition, and moderation.</li> <li>The factors affecting the lifestyle behaviors according to the philosophy of sufficiency economy of the personnel of the Chamberlain Division, Bureau of the Royal Household were awareness of information about the philosophy of the sufficiency economy (X<sub>7</sub>), awareness of the value of the philosophy of the sufficiency economy (X<sub>9</sub>), age (X<sub>2</sub>), the learning of the philosophy of sufficiency economy from learning sources with practicality (X<sub>10</sub>), knowledge and understanding of the philosophy of sufficiency economy (X8), with the efficiency of prediction for 79.30%, as the equation: <sub>tot</sub> = .474 + .359 (X<sub>7</sub>) + .251 (X<sub>9</sub>) + -.050 (X<sub>2</sub>) + .083 (X<sub>10</sub>) + -.197 (X<sub>8</sub>).</li> </ol> 2019-11-05T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/207842 อิทธิพลของการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของพนักงานในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs) ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (The influence of Perceived Organizational Support affecting on In-Role Performance of employees in Small and Medium Enterprises (SMEs) in Ayutthaya province) 2019-11-05T13:55:52+07:00 พงศกร เอี่ยมสอาด (Phongsakorn Amsa-ard) phongsakorn.e@gmail.com วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ (Viroj Jadesadalug) viroj@ms.su.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ผ่านความผูกพันต่อองค์การของพนักงานในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) &nbsp;โดยมีกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 465 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การมีอิทธิพลทางบวกต่อความผูกพันองค์การ และความผูกพันต่อองค์การมีอิทธิพลทางบวกต่อผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ และพบว่าความผูกพันต่อองค์การเป็นตัวแปรกลางในอิทธิพลระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่&nbsp; และได้มีการอภิปราย สรุปผล รวมทั้งเสนอแนะการวิจัยในอนาคต</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This study aims to study the factors of Perceived Organizational Support (POS) affecting&nbsp;&nbsp; on In-Role Performance. The Mediating Effect of Organizational Commitment. The sample are employees in Small and Medium Enterprises (SME) in Ayutthaya province. The 400 firms are collected the data by questionnaires and analyzed by multiple regression method. The results show that Perceived Organizational Support had a positive influence on Organizational Commitment. Organizational Commitment had a positive influence on In-Role Performance. In terms of the career commitment that had a mediating effect on the relationship between both dimensions of the Perceived Organizational Support and In-Role Performance. Finally, the implications of the finding and suggestions for future research are presented</p> 2019-11-05T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/175325 การเตรียมความพร้อมการท่องเที่ยวเชิงกีฬาฟุตบอล (A Preparation in Football Tourism ) 2019-11-05T15:15:04+07:00 พงษ์นรินทร์ ว่องวิทย์ (Pongnarin Wongvit) pongnarinwongvit@gmail.com เพ็ญศรี ฉิรินัง (Pensri Chirinang) pensri.chi@rmutr.ac.th อรุณ รักธรรม (Arun Raktam) phd.somporn@gmail.com สมพร เฟื่องจันทร์ (Somporn Fuangchan) phd.somporn@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; กีฬาฟุตบอลนับเป็นเป็นกีฬาที่มีความโดดเด่นและเป็นประเภทกีฬาที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงในประเทศไทยตลอดมา โดยปัจจุบันประเทศไทยได้มีการแข่งขันฟุตบอลไทยลีกเป็นของตนเอง ทำให้นักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบกีฬาฟุตบอลเดินทางไปรับชมการแข่งขันฟุตบอลที่สนามแข่งขันที่กระจายอยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศไทยหลักพันจนถึงหลักหมื่นคนในแต่ละสัปดาห์ โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยช่วงหน้าเทศกาลหรือฤดูกาลท่องเที่ยวของแต่ละจังหวัด ทำให้เป็นการช่วยหนุนธุรกิจที่อยู่ในห่วงโซ่เชื่อมโยงกับกีฬาทั้งในทางตรงและทางอ้อมให้ได้รับประโยชน์ไปด้วย ทำให้สามารถเรียกได้ว่ากีฬาฟุตบอลเป็นกีฬาประเภทหนึ่งที่มีผล “ตัวคูณ (Multiplier Effect)” ที่สูงสามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศ และอาจเป็นส่วนสำคัญในบทบาทเศรษฐกิจของประเทศไทยในระยะข้างหน้าต่อไปได้ บทความนี้จะเป็นการทบทวนความรู้ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงกีฬา และนำเสนอเพื่อเป็นแนวทางการเตรียมความพร้อมในการรองรับนักท่องเที่ยวเชิงกีฬาฟุตบอล</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Football is a prominent sports that has always been the most popular sports in Thailand. Presently, Thailand has its own professional football leauge, which brings a lot of visitors to local stadiums in the respective provinces around the country. The number of trips made by travelling Thai football fans vary from thousands to tens of thousands weekly without having to rely on the seasonal period of each province. Consequently, the spendings of Thai football fans will benefit all the businesses related to the sports itself.It can be said that football is a sport that has a high multipler effect that can generate income for the country, and can be an intregal part in developing Thai economy in a foreseeable future. This article is about a review on knowledge and concept, sport tourisms’ theory demands and present as a preparation in football tourism.</p> 2019-11-05T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/164481 การผลิตภาพยนตร์สั้นโดยใช้องค์ประกอบของสารพันธุกรรมทางวัฒนธรรมไทย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ (A Short Film Production Using the Thai Cultural DNA Elements for Tourism Promotion within the Provincial Group of Roi Et, Khon Kaen, Maha Sarakham, and Kalasin) 2019-11-05T15:37:02+07:00 พงษ์พิพัฒน์ สายทอง (Pongpipat Saitong) pongpipat.s@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) วิเคราะห์องค์ประกอบสารพันธุกรรมทางวัฒนธรรมไทยเพื่อพัฒนาเนื้อเรื่องของภาพยนตร์สั้น 2) ประเมินผลการผลิตภาพยนตร์สั้น 3) สอบถามความคิดเห็นหลังชมภาพยนตร์สั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบประเมินความคิดเห็น 2) หลักเกณฑ์การตัดสินการประกวดภาพยนตร์สั้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) คณะกรรมการตัดสินการประกวดภาพยนตร์สั้นเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว จำนวน 3 คน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 2) ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมการประกาศผลการประกวดภาพยนตร์สั้น จำนวน 73 คน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ<strong>บังเอิญ</strong>&nbsp;3) กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง จำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบของสารพันธุกรรมทางวัฒนธรรมไทย ได้แก่ ความยืดหยุ่น ความสนุก ความมีรสชาติ ความเป็นมิตรและการเต็มที่กับชีวิต โดยสอดแทรกลงในการดำเนินเรื่องด้วยการเดินทางไปในสถานที่ท่องเที่ยว จำนวน 20 แห่ง 2) การประเมินผลการผลิตภาพยนตร์สั้นของผู้เชี่ยวชาญ มีคะแนนเฉลี่ยรวมเท่ากับ 81.66 และภาพยนตร์สั้นได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ระดับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป 3) การประเมินความคิดเห็นของผู้ชมภาพยนตร์สั้นอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด ดังนั้นจึงสามารถนำภาพยนตร์สั้นไปเผยแพร่เพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวได้</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research was purposively conducted to: 1) analyze the Thai cultural DND elements for a short film content development; 2) evaluate the outcome of a short film production; and 3) examine the participant’s opinion after watching a short film. The research tools were: 1) a participant’s opinion evaluation form and 2) a short film consideration criteria. Particularly, the sample group consisted of 1) 3 judges from the tourism promotion short film contest selected by a purposive sampling method; 2) 73 participants attending the short film contest selected by an accidental sampling method; and 3) the participants from the four provinces in the middle northeastern Thailand including Roi-Et, Khon Kaen, Maha Sarakham, and Kalasin. The research outcome indicated that: 1) the Thai cultural DNA elements (5F) including Flexibility, Fun, Full Flavors, Friendliness, and Life-fulfilling can be presented through a journey to 20 tourist’s attractions; 2) the total score rated by the judges was 81.66 and the short film won a 2<sup>nd</sup> runner-up prize from the student’s and people’s contest; 3) the participant’s opinion after watching the short film was rated the highest. As a result, this short film is firmly applicable for tourism promotion.</p> 2019-11-05T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/174552 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลระหว่างการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้กับการเป็นองค์การนวัตกรรม ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Canonic correlation analysis between Learning Organization and Innovation Organization of Office of the Basic Education Commission) 2019-11-05T15:48:22+07:00 พัชรกันย์ เมธาอัครเกียรติ (Patcharakan Medhaakkharakiat) aud_acharee.obec@hotmail.com ประสพชัย พสุนนท์ (Prasopchai Pasunon) aud_acharee.obec@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้และการเป็นองค์การนวัตกรรม ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 2) สหสัมพันธ์คาโนนิคอลระหว่างการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้กับองค์การนวัตกรรม ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ส่วนกลาง) จำนวนทั้งหมด 300 คน ใช้วิธีการเลือกสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ คาโนนิคอล ผลการวิจัย พบว่า</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1) ระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก&nbsp; (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 3.96, S.D. = 0.42) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านเทคโนโลยีการเรียนรู้(<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 4.14, S.D. = 0.55) ในขณะที่ค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านโครงสร้างที่เหมาะสม ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.79, S.D. = 0.54)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2) ระดับการเป็นองค์การแห่งนวัตกรรม ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก&nbsp; (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 3.83, S.D. = 0.45) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการจัดการความรู้ ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.87, S.D. = 0.56) ในขณะที่ค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านผู้บริหารที่กล้าเสี่ยง ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.75, S.D. = 0.56)</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;3) สหสัมพันธ์คาโนนิคอล (Rc) ระหว่างชุดตัวแปรการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้กับการเป็นองค์การนวัตกรรม ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีฟังก์ชันคาโนนิคอล 5 ฟังก์ชัน แต่มีเพียงฟังก์ชันที่ 1 และฟังก์ชันที่ 2 ที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีค่า ( ) คู่ที่ 1 เท่ากับ 0.3595 คู่ที่ 2 เท่ากับ 0.0720แสดงว่ามีความแปรปรวนร่วมกันระหว่างตัวแปรคาโนนิคอลทำนาย (Predictor Composite) กับตัวแปรคาโนนิคอลเกณฑ์ (Criterion Composite) อยู่ 35.95% และ 7.20% ตามลำดับ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aims to study 1) The level of being an organization of learning and being an innovation organization of the Office of Basic Education Commission. and 2) Canonic correlation between being a learning organization and an innovation organization of the Office of Basic Education Commission. The sample group used in the research was personnel working in the Office of the Basic Education Commission (Central). Total number of 300 people. Use the method of sampling to select the floor Tools used for data collection. Is a questionnaire estimated at 5 levels Statistics used in data analysis Ie percentage, mean, standard deviation and canonic correlation analysis. The research found that.</p> <ol> <li>Level of learning organization of the Office of Basic Education Commission. In the overall picture, it is at a high level ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.80, S.D. = 0.36). When considering each aspect, it was found that the most average aspect was learning technology ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 4.06, S.D. = 0.60). While the lowest mean is the support atmosphere (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 0.72, S.D. = 0.59).</li> <li>Level of innovation organization of the Office of Basic Education Commission. In the overall picture, it is at a high level ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.87, S.D. = 0.41). When considering each aspect, it was found that the most average aspect was knowledge management (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 3.76, S.D. = 0.58). While the lowest mean is the executive who dares to risk ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.65, S.D. = 0.56).</li> <li>Canary correlation (Rc) between the variable of learning organization and innovation organization of the Office of the Basic Education Commission. There are 5 function functions, but only function 1 and function 2. With statistical significance at the level of .01 and with values ( ), pair 1 is 0.3595, pair 2 is 0.0720. Indicates that there is a common variance between the predictive composite variables and the 35.95% Criterion Composite variables and 7.20% respectively.</li> </ol> 2019-11-05T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/182307 แนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม โรงเรียนบ้านลำมะโกรก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 จังหวัดกำแพงเพชร (Guidance For Improving The Inclusive Education Of In Banlammakrok School Cluster Under The Kamphaengphet Primary Educational Service Area Office 1 Kamphaengphet Province.) 2019-11-05T16:02:56+07:00 พัทธนันท์ วงษ์วิชยุตม์ (Pattanan Wongwitchayut) anuchaphoom@gmail.com บุญล้อม ด้วงวิเศษ (Boonlom Duangwiset) anuchaphoom@gmail.com วรพรรณ ขาวประทุม (Worapan Khaopratoom) anuchaphoom@gmail.com กัลยารัตน์ มาลาศรี (Kanyarat Malasri) anuchaphoom@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพการดำเนินงานด้านการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมของโรงเรียนบ้านลำมะโกรก 2) เพื่อหาแนวทางพัฒนาการดำเนินงานด้านการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมของโรงเรียนบ้านลำมะโกรก กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ปกครอง ผู้บริหาร บุคลากรของโรงเรียนบ้านลำมะโกรก และผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม จำนวน 66&nbsp; คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ&nbsp; แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการดำเนินงานด้านการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมของโรงเรียนบ้านลำมะโกรก ในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมาก ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 4.16) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านการบริหารการจัดการเรียนรวม (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 4.27) รองลงมาคือ ด้านการจัดการเรียนการสอน ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 4.11) ด้านคุณภาพผู้เรียน ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 4.09) และด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 4.07)ตามลำดับ 2) ผลการหาแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม โรงเรียนบ้านลำมะโกรก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 จังหวัดกำแพงเพชร สรุปได้ดังนี้ 2.1) ด้านคุณภาพผู้เรียน คือ จัดทำแผนการการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)&nbsp; เสริมสร้างความรู้ในด้านการเขียนแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) 2.2) ด้านการจัดการเรียนการสอน คือ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการคัดกรองนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ จัดทำคู่มือหรือแบบฟอร์มที่ชัดเจนในการจัดการเรียนการสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษเป็นรายบุคคล จัดสื่อและเทคโนโลยี กำกับ ติดตาม วัดผลและประเมินผลก่อนและหลังการจัดการเรียนการสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษ 2.3) ด้านการบริหารจัดการเรียนรวม คือ จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาครู ในด้านการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรวม สร้างความตระหนักให้ครูเห็นความสำคัญของการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม ใช้วิธีแลกเปลี่ยนเรียนรู้&nbsp; 2.4)&nbsp; ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ คือ ระดมทรัพยากรทางการศึกษาเพื่อสนับสนุนสื่อเทคโนโลยี และจัดสภาพแวดล้อม อบรมการใช้สื่อและเทคโนโลยีให้กับครูผู้สอน</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purpose of this research were to study the Conditions and Guidance for improving the inclusive education of in banlammakrok school Cluster under the kamphaengphet primary educational service area office 1 kamphaengphet province. Samples were 66 parents of children with special needs, administrators, personnel and experts specializing in the inclusive education by purposive sampling. The instruments were the questionnaires. The statistics methods used for data analysis were percentage, mean, and standard deviation. The research findings were: 1) Conditions was overall at a high level (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 4.16). For consideration in each aspect, it was found that the administration was the highest level (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 4.27), followed by instructional skill (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 4.11), quality of the students&nbsp; ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 4.09) and while the lowest was in learning society ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 4.07). 2) Guidance for improving findings were 2.1) quality of the students were conduct the individualized education program (IEP). 2.2) instructional skill were Development of a Learning and teaching children with special needs, screening, manual, Innovation and Educational Technology for teacher. 2.3) administration were activity for development with special needs, buildind awareness of teacher. 2.4) learning society were educational resource finding, Innovation and Educational Technology and environment of inclusive education for teacher.</p> 2019-11-05T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/186307 PERSONAL LEARNING ENVIRONMENTS ENHANCE LANGUAGE LEARNERS TO ORGANIZE SELF-REGULATED LEARNING 2020-01-02T13:11:03+07:00 Natthika Boonrasamee d5520091@g.sut.ac.th Adcharawan Buripakdi ajarnkob@gmail.com Andrew Lian andrew.lian@andrewlian.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; Review of literature provides a conceptual framework of constructivism in education as well as a language pedagogy aspect based on the notion of the rhizome. This concept enables language learners to boost up decision-making power and offers them a vital opportunity for learning development. As the ubiquity of information technology, students can access online information via the Internet and various social networks. Many sources included in virtual learning platforms and social networking services are not adjusted to meet students’ requirements and/or to fit into any learning styles of each student. Those students need to have an ability to acquire, analyze and evaluate [academic] information. The purpose of the study was to examine English majors’ decision-making mechanism within their personal learning environments. To simplify this idea, this study intended to (1) analyze pathways of learning taken by EFL (English as a foreign language) learners as they navigate the Internet and/ or deal with other resources of academic learning; and (2) seek factors influencing the learner’s decision-making processes while undertaking learning tasks. English-major learners from one university in the south of Thailand were purposively selected. An online questionnaire surveyed with 65 valid responses and a semi-structured interview was conducted later (n=10). The survey consisted of seventeen questions and was used to collect the participants’ online information search strategies.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Findings in quantitative approach reported that the participants employed five strategies relating to decision-making mechanisms. Those strategies were reading for main ideas, trial-error, problem-solving, purposeful thinking, and evaluation. Besides, four emerging themes from qualitative approach were (1) research-based activities, (2) knowledgeable persons, (3) academic mindsets, and (4) freedom to learn. The findings of this study also provide valuable insights into fostering self-organized learning and reconfirm an idea of&nbsp; self-organized learning environment by connectivism.</p> <p>&nbsp;</p> 2019-11-05T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/182277 การพัฒนาเข้าสู่ธุรกิจที่สร้างมูลค่าเพิ่มของสหกรณ์การเกษตรในประเทศไทย (Value Added Business development for Agricultural Cooperatives in Thailand) 2019-11-07T16:03:49+07:00 พิมพ์พร โสววัฒนกุล (Phimphorn Sowawattanakul) ajarn.net@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาธุรกิจในสหกรณ์การเกษตร ปัจจัยสนับสนุนและอุปสรรคในการเข้าสู่ธุรกิจที่สร้างมูลค่าเพิ่มของสหกรณ์การเกษตรในประเทศไทยโดยศึกษาข้อมูลจากฐานข้อมูลธุรกิจของสหกรณ์การเกษตรในประเทศไทย กรณีตัวอย่างของสหกรณ์การเกษตรต่างประเทศ การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เกี่ยวข้องและนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบร่วมกับข้อมูลทุติยภูมิเพื่อสรุปปัจจัยสนับสนุน อุปสรรค และแนวทางการพัฒนาสหกรณ์ในการเข้าสู่ธุรกิจที่สร้างมูลค่าเพิ่มได้ ผลการศึกษาพบว่านอกจากธุรกิจรับฝากและสินเชื่อแล้ว สหกรณ์การเกษตรในประเทศไทยส่วนใหญ่ดำเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิตทางการเกษตรและในบางสหกรณ์มีการแปรรูปขั้นพื้นฐานเป็นหลักต่างกับกรณีศึกษาของสหกรณ์การเกษตรที่ประสบความสำเร็จในต่างประเทศที่มีธุรกิจครอบคลุมต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ และมีการขยายขอบเขตการดำเนินการไปสู่ธุรกิจที่เป็นกิจกรรมสนับสนุน&nbsp; เช่น การวิจัยพัฒนา การให้คำปรึกษา บริการด้านโลจิสติกส์ และการรับประกันความเสี่ยง เป็นต้น&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สหกรณ์การเกษตรในประเทศไทยมีอุปสรรคสำคัญในการเข้าสู่ธุรกิจที่มีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ ข้อจำกัดจากกฎระเบียบ ความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง และการบริหารจัดการของสหกรณ์ และจากการศึกษาพบว่าแนวทางการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรในการที่จะเข้าสู่ธุรกิจที่สร้างมูลค่าควรมีการดำเนินการปรับปรุงกฎหมายของสหกรณ์ที่เป็นข้อจำกัดโดยเฉพาะการปรับปรุงการจัดเก็บภาษี การถือหุ้นและการลงทุนของสหกรณ์ การส่งเสริมการจัดการทางการตลาด และการปรับบทบาทขององค์กรสนับสนุนหรือการสร้างองค์กรกลางเพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันให้กับสหกรณ์การเกษตร</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research aims to study the business and factors effect to value added business diversification of agricultural cooperatives in Thailand. Data from agricultural cooperatives database, oversea agricultural cooperative case studies and in-depth interview were comparative analysis with secondary data. Results shown that, besides saving and credit, product compilation and basic transform process are main businesses of agricultural cooperatives in Thailand. Differ from oversea agricultural cooperatives those diversify their businesses among upstream to downstream businesses which impact to generate value added to cooperative business. Important obstacles of agricultural cooperatives in Thailand were regulation, personnel capability, and marketing management. This research proposed revising agricultural cooperative regulation especially, tax collection, shareholding and investment, improving cooperative marketing management, and setting the central organization to increase agricultural cooperative potential and competitive advantage<strong>.</strong></p> 2019-11-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/190941 การก่อรูปของพื้นที่สาธารณะในย่านชุมชนเก่า :กรณีศึกษาชุมชนพาดสาย ย่านเยาวราช (Formation of Public Space in Old town Community : Case study in Pad Sai Community, Yaowarat District) 2019-11-15T15:36:13+07:00 จุฬาลักษณ์ ไพบูลย์ฟุ้งเฟื่อง (Chulalak Paiboonfoongfueng) mschulalak@gmail.com ต้นข้าว ปาณินท์ (Tonkao Panin) tonkaopanin@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เยาวราชเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศในอดีต ที่มีจุดเด่นคือการผสมผสานระหว่าง "ย่านธุรกิจการค้า ย่านที่พักอาศัย และวิถีชีวิตแบบชุมชนเมือง" ที่เชื่อมโยงร้อยรัดผูกพันกันด้วยวัฒนธรรมที่หลากหลายทว่ามีเอกลักษณ์เฉพาะตัว &nbsp;แต่การขยายตัวของเมืองกรุงเทพมหานครทำให้เยาวราช กำลังเผชิญปัญหาด้านสภาพความแออัด ส่งผลให้คนในชุมชนซึ่งนับได้ว่ามีสภาพทางเศรษฐกิจค่อนข้างดี กลับมีคุณภาพชีวิตเชิงกายภาพไม่ดีเท่าที่ควร เนื่องจากขาดแนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะซึ่งจำเป็นต้องทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการก่อรูปและพฤติกรรมการใช้พื้นที่สาธารณะของคนในชุมชนตามทฤษฎีความสัมพันธ์ของ “ความเป็น-อยู่-คือ”ของพื้นที่ (perceived-conceived -lived)ที่กล่าวถึงการก่อกำเนิดพื้นที่ทางสังคม&nbsp; (Social&nbsp; space) ว่าเป็นพื้นที่ที่เกิดจากลักษณะวิถีการดำรงชีวิตที่แตกต่างกันในแต่ละชุมชน เราจึงควรศึกษาที่กระบวนการเกิดของพื้นที่สาธารณะมากกว่าตัวพื้นที่เอง&nbsp; (Lefebvre, 1991 : 53)&nbsp; งานวิจัยนี้จึงได้เลือกชุมชนพาดสายเป็นตัวแทนของชุมชนเยาวราช เพื่อศึกษาสภาพทางกายภาพและพฤติกรรมในการใช้งานของคนในชุมชน ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มีการประกอบอาชีพ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา ที่ใกล้เคียงกันตามทฤษฎีของ Madanipour&nbsp; (1996 : 26)&nbsp; ซึ่งกล่าวว่า แม้จะเป็นการยากที่จะเชื่อมการศึกษาพื้นที่สาธารณะทางด้านกายภาพ จิตวิทยาและสังคมเข้าด้วยกัน แต่แท้จริงกลับมีความเกี่ยวพันกันอย่างลึกซึ้ง การศึกษาพื้นที่จึงควรศึกษาทั้งการรับรู้ (perceive) การสร้างสรรค์ (create) และการใช้ (Use) ของพื้นที่นั้น โดยนักวิจัยได้ทำการสำรวจเชิงกายภาพ (Physical Determination)&nbsp; และเชิงพฤติกรรม (Behavioral Determination) เพื่อนำมาประเมินผลเปรียบเทียบว่าปัจจัยใดที่ส่งผลต่อการก่อรูปของพื้นที่สาธารณะนั้นๆมากกว่ากัน ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยทางด้านพฤติกรรมค่อนข้างส่งผลต่อการก่อรูปของพื้นที่สาธารณะในชุมชนพาดสายมากกว่าปัจจัยทางด้านกายภาพ&nbsp; ดังนั้นการเชื่อมโยงไปสู่แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะในชุมชนเก่า จึงควรคำนึงถึงพฤติกรรมของคนในชุมชนเป็นหลัก เนื่องจากปัจจัยทางด้านกายภาพที่มาจากการออกแบบในเชิงวิชาการอาจไม่สอดคล้องกับความต้องการและพฤติกรรมของคนในพื้นที่</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Yaowarat is the country’s remarkable economic center in the past that connected various but unique cultures of “business and residential areas as well as urban lifestyles” and integrated into one. However, the urban expansion of Bangkok has caused Yaowarat to currently face a serious problem of congestion resulting in poor quality of life of the people in this fair economic community. This is due to lack of an appropriate way to develop public space, which, according to the theory of relationship of “perceived-conceived-lived” spaces, needs to know the factors that affect the formation and the behavior of public space utilization of the community people. According to the theory, the social space formation is derived from different lifestyles of the people in each community. Therefore, we should study the process of public space formation rather than the public space itself. (Lefebvre, 1991 : 53). This research then selected Pad Sai Community as the representative of Yaowarat Community to study physical and behavioral conditions in using public space of the people; due to their similarity in terms of occupations, ages, nationalities and religions. As per Madanipour’s theory (1996 : 26), although it is quite difficult to integrate physical, psychological and social studies of a public space; they are truly connected in a profound way. Hence, the study has to cover the perception, the creation and the utilization of such space. The researcher then surveyed, compared and evaluated the Physical Determination and Behavioral Determination of the public space in order to find out which factors had more impact on its formation. It was found out that behavioral determination factors seemed to affect the formation of public space in Pad Sai Community more than physical determination factors. As a result, to relate this finding into an appropriate way of developing public space in an old community; we have to concern more on behavior of the community people since physical determination factor derived from an academic design may not be in line with the need and behavior of the local people.</p> 2019-11-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/203700 An Appropriate Integrated Marketing Communication for Thai Rice Barge Dinner Cruise Business in Bangkok 2019-11-08T09:24:58+07:00 Busarin Wongwiwattana nopparat@ms.su.ac.th Nopparat Boonpienpon nopparat@ms.su.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; Thai rice barge dinner cruise business is one of the popularity business in Bangkok.&nbsp; This business is not only the tourism business itself, but also represent Thai cuisine under Thai culture with Thai atmosphere.&nbsp; Therefore, in order to maintain the business survivor under the high competitive environment and preserve with Thainess, then, the concept of an appropriated integrated marketing communication attributes were applied.&nbsp; The aim of this study is to find an appropriated process and integrated marketing communication attributes for Thai rice barge dinner business in Bangkok.&nbsp; The qualitative research method is applied with an in-depth interviewing technique.&nbsp; All twelve key informants are experts in Thai rice barge dinner cruise business with work experience and background in Thai rice barge filed only.&nbsp; &nbsp;The structure questions for interviewing were developed from various documentary sources.&nbsp; In addition, the data triangulation method were applied under the context of position, people and time consecutively. (Denzin, 2006)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research revealed that there are five essential processes of integrated marketing communication could be applied with Thai rice barge dinner cruise business.&nbsp; All these processes would assist all Thai rice barge business to construct their marketing strategy properly, while, it could be an indicator for business performance as well.&nbsp; In term of an appropriate integrated marketing communication attributes, it found that there are five effectiveness attributes as; 1) advertising, 2) sales promotion, 3) personal selling, 4) public relation, and 5) special event and sponsorship consecutively.&nbsp; With all these integrated marketing communication attributes would generate the positive outcome for Thai rice barge dinner cruise businesses in Bangkok, in both term of profitability and reputation as Thai culture representative. Therefore, each Thai rice barge business could be able to apply all these attributes under the context of their business establishment, purpose and success goals individually, where, the result will reflect not only their business itself, but also the whole picture of Thailand business properly.</p> 2019-11-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/164348 การศึกษาเปรียบเทียบกลยุทธ์ในการตอบรับคำขอโทษของคนจีนและคนไทย (Thai – Chinese comparison analysis of strategies for replying to an apology) 2019-11-12T08:52:32+07:00 รวีรำไพ พิพัฒนลักษณ์ (Raveerampai Pipattanalak) raveerampai.p@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; บทความวิจัยนี้ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเหมือนและแตกต่างระหว่างการให้น้ำหนักความผิดในแต่ละสถานการณ์ของคนไทยและคนจีน ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ และได้ศึกษาเปรียบเทียบกลยุทธ์ในการตอบรับคำขอโทษของคนไทยและคนจีน ผู้วิจัยแบ่งกลยุทธ์ในการตอบรับคำขอโทษของคนไทยและคนจีนแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือการตอบรับคำขอโทษในเชิงบวก และการตอบรับคำขอโทษในเชิงลบ ผลการวิจัยพบว่าโดยส่วนมากคนไทยและคนจีนมีแนวโน้มการใช้กลยุทธ์ในการตอบรับคำขอโทษที่ใกล้เคียงกัน ยิ่งค่าน้ำหนักความผิดน้อยมากเท่าไหร่ การตอบรับคำขอโทษในเชิงบวกจะมีมากเท่านั้น ในเชิงกลับกันถ้าน้ำหนักความผิดมาก การตอบรับคำขอโทษในเชิงลบก็จะมากขึ้นเช่นกัน</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purpose of this research is to study the relationship between the acceptance for apology and the level of offence in China and Thailand in order to encourage the communications between these two countries to be effective. According to the questionnaires collected in this research, it demonstrates that there are some differences in cultural context between Chinese and Thai people. Therefore, it creates the difference in using the acceptance for apology of Chinese people and Thai people.The relationship between the acceptance for apology and the level of offence has been founded in the research. The positive acceptance for apology decreases and the negative acceptance for apology increases when the level of offence increases.</p> 2019-11-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/186409 The willingness to pay and the attributes preferences on hotel choice decisions 2019-11-12T09:00:47+07:00 Ratthapoom Wongpradu geostate@gmail.com Supeecha Panichpathom supeecha@tbs.tu.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The fast-growing number of small and medium size hotels in Thailand leads to a fierce competition in hotel industry. Old strategies such as price cutting may be obsolete. Business should identify niche customers by targeting the right market and employ some limited resources with corresponding strategies. Thus, this paper aims to examine the preferred attributes on hotel choice decisions for Thai baby boomer travelers. Researchers applied the conjoint analysis technique to explore how qualified respondents perceive the relative importance of cleanliness, monetary value, sleep quality, location, facilities, and amenities quality in the selection of small and medium hotels under the operation of Small and Medium Enterprises (SMEs) entrepreneurs. Despite the complication in collecting the samples of the technique, an innovative board game is created correspondingly to simplify the process and to visually mimic the trade-off situation in a process of consumer's evaluation. The findings suggest that application of the most preference profile card: (1) Clean bedding, (2) Free Breakfast, (3) Adjustable temperature, (4) Green surroundings, and (5) Fast-heated water heaters should be put in priority in regard to the willingness to pay. There are 3 groups of respondents: (1) Female Traveling with family (2) Male Traveling with family (3) Female Traveling with friends. In the next research SMEs hotel entrepreneurs targeting baby boomer travelers could adjust the attributes to the outcomes accordingly in order to be competitive.</p> 2019-11-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/192026 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันคุณสมบัติพื้นฐานของเกษตรกรปราดเปรื่อง (The Confirmatory Factor Analysis to the Basic features of the Smart farmers) 2019-11-12T13:36:20+07:00 อภิเดช ช่างชัย (Apidet Changchai) tongku_@hotmail.com จิราวุฒิ เชิญเกียรติประดับ (Jirawut Chernkaitpradap) woraseth.sp@gmail.com วรเศรษฐ์ วงศ์อารีย์ (Woraseth Wongaree) woraseth.sp@gmail.com วราภรณ์ แย้มทิม (Varaporn Yamtim) woraseth.sp@gmail.com สุภาสิณี นุ่มเนียม (Supasinee Numniem) woraseth.sp@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของเกษตรกรต่อคุณสมบัติของเกษตรกรปราดเปรื่องภูมิภาคตะวันตก 2) วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันคุณสมบัติเกษตรกรปราดเปรื่องของเกษตรกรภูมิภาคตะวันตก เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ชนิดมาตรประมาณค่า 5 ระดับ กับเกษตรกรภาคตะวันตก โดยการสุ่มแบบโควตาแล้วเลือกแบบบังเอิญ จำนวน 400 คน วิเคราะห์และประมวลผลโดยใช้สถิติขั้นพื้นฐาน และ สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน นำเสนอข้อมูลใน ตาราง รูปภาพ กราฟนำเสนอข้อมูล&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ตอน 1) ความคิดเห็นของเกษตรกรในภูมิภาคตะวันตกต่อคุณสมบัติขั้นพื้นฐานเกษตรกรปราดเปรื่อง 6 ด้าน ประกอบด้วย&nbsp; ความรู้ในเรื่องที่ทำอยู่&nbsp; การมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ&nbsp; การบริหารจัดการผลผลิตและการตลาด &nbsp;ความตระหนักถึงคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และความภูมิใจในความเป็นเกษตรกร &nbsp;ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง &nbsp;และ &nbsp;2) เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า องค์ประกอบเชิงยืนยันคุณสมบัติขั้นพื้นฐานเกษตรกรปราดเปรื่องในภูมิภาคตะวันตกสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ &nbsp;เมื่อวิเคราะห์จากค่าดัชนีความสอดคล้องและกลมกลืน ประกอบด้วย =0.000, =1.000, P-value=0.000, TLI=1.000, RMSEA=0.000, SRMR=0.000, CFI=1.000/ =0.000, and &nbsp; X (KNWG = 0.91, INFO =1.01, MANG = 0.91, STAFT =0.67, RESE =0.85, POUD = 0.84)</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aimed to: 1) study the level of farmers' opinions on the basic features of smart farmers in the western region: 2) analysis of the elements confirming the farmers' qualities of farmers in the western region. There were collected was used 5-level estimation type questionnaires with western farmers through random sampling method 400 samples accidental selection, analyzed and processed using basic statistics and statistics, confirmatory factor analysis Presenting data in the table, pictures, graphs, presentation of information.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; This study found that: 1) the opinions of farmers in the western region on the basic characteristics of farmers, 6 aspects of intelligence, consisting of knowledge on the subject Having decision information Product and marketing management awareness of product quality and safety of environmental responsibility and pride in being a farmer The overall picture was at a moderate level and: 2) when analyzing the confirmed components, it was found that the elements confirming the basic features of the farmers in the western region were consistent with empirical data through analyzing from the consistency and harmonic index consisting, i.e.;&nbsp; =0.000, =1.000, P-value=0.000, TLI=1.000, RMSEA=0.000, SRMR=0.000, CFI=1.000/ =0.000, and &nbsp; X (KNWG = 0.91, INFO =1.01, MANG = 0.91, STAFT =0.67, RESE =0.85, POUD = 0.84)</p> 2019-11-11T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/193562 The Causal Factors Affecting The Competitiveness Of Ocean Freight Forwarder In Thailand 2019-11-12T10:19:37+07:00 Sriwilai Suphalak suphalak.sr@gmail.com Luksanato Sarawut sarawut@buu.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research aimed 1) to study causal relationship of factors affecting the competitiveness of ocean freight forwarders in Thailand and 2) to examine the goodness-of-fit index of the structural equation model and analyze direct and indirect factors from structural equations modeling by using LISREL. The subjects of the study were 208 freight forwarders in Thailand. The research instrument was questionnaire. The validity and reliability of the questionnaire were examined by using content validity by experts, convergent validity, and construct reliability. The reliability of the questionnaire was at 0.97(Cronbach’s Alpha) and Structural equations modeling was used for proving hypotheses.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results of the study showed that the structural equations model of factors affecting the competitiveness of ocean freight forwarder in Thailand got Chi-Square (χ<sup>2</sup>) = 112.13 (p = 0.066), Degrees of freedom (df) = 91, (χ<sup>2</sup>)/df = 1.23, Comparative Fit Index (CFI) =0.99, Goodness-of-Fit Index (GFI) = 0.94, Adjusted Goodness-of-Fit Index (AGFI) = 0.90, Normal Fit Index(NFI)= 0.98, Incremental Fit Index (IFI)= 0.99 and Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA) = 0.03.</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results also showed that the structural equations model was consistent to the empirical evidences that can be used for describing the causal relationship of factors affecting the competitiveness of ocean freight forwarders in Thailand as follows: 1) Firm resource had direct positive effect on competitiveness with 0.32 effect size, 2) Firm resource had indirect positive effect on competitiveness via business networks with 0.49and 0.50effect size, respectively, 3) Firm resource had indirect positive effect on competitiveness via maritime logistics service quality with 0.39and 0.35effect size, respectively, and4) Firm resource had indirect positive effect on competitiveness via business networks and maritime logistics service quality with0.49, 0.18, and 0.35, respectively(P &lt; 0.01).</p> 2019-11-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/192424 ความท้าทายของครูคณิตศาสตร์ในการเรียนการสอนตามแนวทางสอนสะเต็มศึกษา (Challenges of Mathematics Teacher in STEM Instruction) 2019-11-14T15:52:51+07:00 วุฒิชัย ภูดี (Wuttichai Phoodee) w.phoodee@gmail.com รุจิรา วงศ์ชัย (Rujira Wongchai) everlasting.me.me@gmail.com วราภรณ์ ปรีชาพร (Warabhorn Preechaporn) Warabhorn@recsam.edu.my <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;บทความนี้มีความมุ่งหมายเพื่อนำเสนอการเรียนการสอนของครูคณิตศาสตร์ตามแนวทางสะเต็มศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้เข้ากับชีวิตจริง ด้วยทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา และการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้จนนำไปสู่การสร้างสรรค์ คณิตศาสตร์เป็นวิชาหนึ่งที่อธิบายเกี่ยวกับรูปแบบความสัมพันธ์เชิงปริมาณ จำนวน ปริภูมิ และสัญลักษณ์ต่างๆรวมไปถึงตรรกศาสตร์กับการใช้เหตุผล ผู้สอนมีบทบาทจัดบรรยากาศให้เอื้ออำนวยต่อการเรียนและออกแบบกิจกรรมที่ท้าทายสิ่งเดิมที่มีอยู่และทำหน้าที่เป็นผู้แนะแนวทาง ผู้อำนวยความสะดวก เพื่อส่งเสริมต่อการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนผ่านการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The article aims to present teaching and learning through STEM education. Focusing on allowing learners to integrate knowledge into real life with thinking skill, problem solving skill and collaboration to create creativity. Mathematics is one that describes patterns, relationships among quantities, numbers, spaces and symbols, including claims are justified through logical argument. Teacher contributes to the setting of an environment that is conducive to learning and designing challenge activities from the development of prototypes. Teachers act as guide/coach, facilitator, and helper by using learning by doing.</p> 2019-11-14T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/182565 การประเมินความเสี่ยงของกลุ่มหลักทรัพย์ Set 50 ด้วยวิธี 4 Factor Model (THE RISK EVALUTION OF SET 50 USING FOUR FACTOR MODEL) 2019-11-14T16:18:27+07:00 ศศิภา พจน์วาที (Sasipa Pojanavatee) sasipa@ms.su.ac.th พิลาภกิจ ครรชิตะวาณิช (Pilabkit Kanchitawanit) book_3743@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงของกลุ่มหลักทรัพย์ Set50 ด้วยวิธีตัวแบบ สี่ปัจจัย โดยการนำตัวแบบสี่ปัจจัยมาทำการศึกษาร่วมกันในบริบทของการวิเคราะห์ความเสี่ยงของกลุ่มหลักทรัพย์ 7 กลุ่มธุรกิจ ประกอบไปด้วย กลุ่มเทคโนโลยีและสื่อสารสนเทศ, กลุ่มบริการ, กลุ่มการเงิน, กลุ่มการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร, กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และวัสดุก่อสร้าง,กลุ่มพลังงาน และกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตเก็บข้อมูลโดยใช้วิธีตัวแบบสี่ปัจจัย ทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์สมการถดถอยด้วยตัวแบบสี่ปัจจัย</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จากการศึกษา พบว่า กลุ่มหลักทรัพย์ที่มีมูลค่าราคาตลาดสูงและมีอัตราส่วนมูลค่าตามบัญชีต่อมูลค่าตลาดค่าตลาดต่ำ (BL) ให้อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มหลักทรัพย์อื่น ตลอดช่วงระยะเวลาที่ทำการศึกษา ในส่วนการประเมินความเสี่ยงของหลักทรัพย์ตามแบบจำลองสี่ปัจจัย พบว่า ความเสี่ยงจากปัจจัยขนาด ปัจจัยตลาด ปัจจัยมูลค่า และปัจจัยผลตอบแทนในอดีต ไม่สามารถอธิบายอัตราผลตอบแทนส่วนเกินของแต่ละหลักทรัพย์ได้ทุกกลุ่มธุรกิจอย่างมีนัยสำคัญ&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purpose of this research is to analyse the risk of the SET 50 Securities Group using the 4 factors model for data collection. According to the corrected data, this research studies the risk of 7 securities groups. The selected securities groups for this study are&nbsp; 1. Information &amp; Communication Technology 2. Services 3. Financials 4. Agro &amp; Food Industry &nbsp;5. Property &amp; Construction 6. Energy and 7. Production Industry. In addition, this research is using a 4 factors model in linear regression analysis for hypothesis testing.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research results find that the securities which have a high market price and low book value/market ratio (BL) have a higher rate of return on average than other securities. According to the risk evaluation of securities using a 4 factors model, the excess rate of return in each security cannot be described significantly by the risk of 4 factors: size of firms, market, value, and former return.</p> 2019-11-14T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/196759 การพัฒนาชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายสำหรับครู เรื่อง การผลิตบทเรียนผ่านเฟซบุ๊ก เพื่อเป็นแหล่งความรู้เสริมสำหรับนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (The Development of an Electronic Training Package via Network for Teachers on the Topic of Production of Instructional Modules Using Facebook as Supplementary Resources for Primary Students in Schools under the Office of the Basic Education Commission) 2019-11-14T16:36:45+07:00 ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ (Taweewat Watthanakuljaroen) wtaweewat9595@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สำรวจความต้องการเนื้อหาสำหรับการพัฒนาชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายสำหรับครู (2) พัฒนาชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายสำหรับครู เรื่อง การผลิตบทเรียนผ่านเฟซบุ๊ก (3) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ของครูที่ฝึกอบรมด้วยชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่าย เรื่อง การผลิตบทเรียนผ่านเฟซบุ๊ก (4) ศึกษาความพึงพอใจของครูที่มีต่อชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่าย เรื่อง การผลิตบทเรียนผ่านเฟซบุ๊ก และ (5) ศึกษาผลการใช้บทเรียนผ่านเฟซบุ๊กที่ครูผลิตขึ้นเพื่อเป็นแหล่งความรู้เสริมสำหรับนักเรียนประถมศึกษา</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบการวิจัยและพัฒนา แบ่งออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การสำรวจความต้องการเนื้อหาสำหรับการพัฒนาชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายสำหรับครู กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดนครปฐมในเขต 1 ที่ปฏิบัติหน้าที่ในปีการศึกษา 2558 จำนวน 300 คน ได้มาโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถามความต้องการเนื้อหาประกอบชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายสำหรับครู เรื่อง การผลิตบทเรียนผ่านเฟซบุ๊ก เพื่อเป็นแหล่งความรู้เสริมสำหรับนักเรียนประถมศึกษาฯ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนาชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายสำหรับครู เรื่อง การผลิตบทเรียนผ่านเฟซบุ๊ก ประชากรที่ใช้ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา และผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบประเมินคุณภาพสำหรับชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายสำหรับครู เรื่อง การผลิตบทเรียนผ่านเฟซบุ๊ก เพื่อเป็นแหล่งความรู้เสริมสำหรับนักเรียนประถมศึกษา สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ระยะที่ 3 การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของครูที่ฝึกอบรมด้วยชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่าย เรื่อง การผลิตบทเรียนผ่านเฟซบุ๊ก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดนครปฐม เขต 1 ที่ปฏิบัติหน้าที่ในปีการศึกษา 2560 จำนวน 30 คน โดยวิธีการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบทดสอบก่อนฝึกอบรม และแบบทดสอบหลังฝึกอบรมแบบคู่ขนาน และ (2) แบบสอบถามความพึงพอใจของครูที่มีต่อชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่าย สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที และระยะที่ 4 การศึกษาผลการใช้บทเรียนผ่านเฟซบุ๊กที่ครูผลิตขึ้นเพื่อเป็นแหล่งความรู้เสริมสำหรับนักเรียนประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่&nbsp; ครูต้นแบบ จำนวน 1 คน และนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนผ่านเฟซบุ๊ก เพื่อเป็นแหล่งความรู้เสริม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัย พบว่า</p> <ol> <li class="show">ครูมีความต้องการเนื้อหาประกอบชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายสำหรับครู โดยภาพรวมในระดับมากที่สุด โดยมีความต้องการเนื้อหาด้านความรู้ทั่วไปในการใช้งานเฟซบุ๊ก มีความต้องการเนื้อหาเกี่ยวกับการสร้างแหล่งเรียนรู้สำหรับกลุ่มผู้เรียนในชั้นเรียน และด้านการใช้งานเฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน / เพื่อเป็นแหล่งความรู้เสริมเกี่ยวกับการสร้างวิดีโอถ่ายทอดสด</li> <li class="show">ผลการพัฒนาชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายสำหรับครู โดยผลการพิจารณาจากผู้เชี่ยวชาญกลุ่มแรกประเมินคุณภาพอยู่ในระดับดี กลุ่มที่ 2 ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบและรับรองว่ามีความเหมาะสม มีประโยชน์ และนำไปใช้ได้</li> <li class="show">ครูที่ฝึกอบรมด้วยชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายสำหรับครู มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้ง 2 หน่วย</li> <li class="show">ครูมีความพึงพอใจโดยภาพรวมในระดับมากที่สุด โดยด้านวิทยากร และด้านประโยชน์ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านเนื้อหาสาระ และด้านชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายสำหรับครูอยู่ในระดับมาก</li> <li class="show">นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้บทเรียนผ่านเฟซบุ๊กเพื่อเป็นแหล่งความรู้เสริม โดยภาพรวมในระดับมากที่สุด</li> </ol> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The objectives of this research were (1) to survey the needs for contents in order to develop an electronic training package via network for teachers; (2) to develop an electronic training package via network for teachers on the topic of Production of Instructional Modules Using Facebook; (3) to study learning achievement of the teachers who were trained with the electronic training package via network on the topic of Production of Instructional Modules Using Facebook; (4) to study the teachers’ satisfaction with the electronic training package via network on the topic of Production of Instructional Modules Using Facebook; and (5) to study the try-out results of instructional modules created by a teacher using Facebook as supplementary resources for primary students.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; This research used research and development methodology. The research process comprised four phases.&nbsp; Phase 1 was a survey on the needs for contents in order to develop an electronic training package via network for teachers. The research sample for the survey consisted of 300 teachers in schools under Nakhon Pathom Primary Education Service Area Office 1, obtained by multi-stage sampling. The employed research instrument was a questionnaire on the needs for contents of an electronic training package via network for teachers on the topic of Production of Instructional Modules Using Facebook as supplementary resources for primary students.&nbsp; Statistics for data analysis were the mean and standard deviation. Phase 2 was the development of an electronic training package via network for teachers on the topic of Production of Instructional Modules Using Facebook.&nbsp; The employed research population of six experts comprised experts on educational technology and communications, experts on contents, and experts on educational measurement and evaluation. The employed research instrument was a quality evaluation form for the electronic training package via network for teachers on the topic of Production of Instructional Modules Using Facebook as supplementary resources for primary students.&nbsp; Data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, and content analysis.&nbsp; Phase 3 was a study of the learning achievement and satisfaction with the electronic training package via network on the topic of Production of Instructional Modules Using Facebook of teachers who were trained with the electronic training package.&nbsp; The research sample consisted of 30 randomly selected teachers in schools under Nakhon Pathom Primary Education Service Area Office 1 during the 2017 academic year.&nbsp; The employed research instruments were (1) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing, and (2) a questionnaire on teacher’s satisfaction with the electronic training package via network.&nbsp; Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test.&nbsp; Phase 4 was a study of try-out results of instructional modules created by a teacher using Facebook as supplementary resources for primary students.&nbsp; The research sample consisted of a prototype model teacher and 30 Prathom Suksa VI students, all of which were purposively selected.&nbsp; The employed research instrument was a questionnaire on student’s satisfaction with instructional modules created by a teacher using Facebook as supplementary resources.&nbsp; Statistics for data analysis were the mean and standard deviation.</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; Research results were as follows:</p> <ol> <li class="show">The teachers had the overall needs for contents of an electronic training package via network for teachers at the highest level, with specific need for content on general knowledge on using Facebook, specific need for content on creating learning resources for learners in the classroom, and specific need for the content on using Facebook for instruction/being supplementary resources for creating of live video programs.</li> <li class="show">Regarding results of development and quality evaluation of the electronic training package via network for teachers, the first group of experts evaluated that quality of the developed electronic training package via network was at the high level, and the second group of experts certified that the developed package was appropriate, useful, and feasible for implementation.</li> <li class="show">The post-training learning achievement scores of the teachers who were trained with the two instructional modules of the electronic training package via network increased significantly over their pre-training counterpart scores at the .05 level in both of the two learning units.</li> <li class="show">The teachers’ overall satisfaction with the training was at the highest level, with their specific satisfactions with the resource persons and the benefits of training being at the highest level; while their specific satisfactions with contents of the electronic training package and the training package itself being at the high level.</li> <li class="show">The overall satisfaction of the students with using the instructional modules via Facebook as supplementary resources was at the highest level.</li> </ol> 2019-11-14T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/168444 การศึกษาพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในโครงการบริหารจัดการสำนักงานสีเขียว ของพนักงานวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล (A Study of Participatory Behavior in the Green Office Management Project of Mahidol University International College Staff Members) 2019-11-16T15:46:55+07:00 สุชานันท์ ตาลเจริญธรรม (Suchanant Tanjaroentharn) suchanant.tan@mahidol.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยนี้เป็นการศึกษาพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในโครงการบริหารจัดการสำนักงานสีเขียวของพนักงานวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ประชากรการวิจัยได้แก่บุคลากรวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 107 ฉบับ &nbsp;ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ใช้สถิตเชิงพรรณา ค่าเฉลี่ย สถิติอ้างอิงเพื่อการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปร 2 ตัวที่เป็นอิสระต่อกัน (ค่า Independent –Samples T Test) และสถิติอ้างอิงเพื่อการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปรมากกว่า 2 ตัว ด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) ผลการวิจัยพบว่า พนักงานมีพฤติกรรมการมีส่วนร่วมการบริหารจัดการสำนักงานสีเขียวด้านการใช้ผลประโยชน์อยู่ในระดับมาก ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp;=3.67) ด้านการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp;=3.49) ด้านการติดตามและประเมินผลอยู่ในระดับปานกลาง ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp;=3.16) ด้านการวางแผนอยู่ในระดับปานกลาง ( &nbsp;<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">=2.71)&nbsp; การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปรพบว่า พนักงานที่มีเพศแตกต่างกันมีพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในด้านการใช้ประโยชน์แตกต่างกัน พนักงานที่มีอายุแตกต่างกันมีพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการวางแผนแตกต่างกัน พนักงานที่มีระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการใช้ประโยชน์ต่างกัน พนักงานที่มีสังกัดงานแตกต่างกันมีพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในด้านติดตามและประเมินผลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 0.05</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The objective of this study was to survey participatory behavior in the Green Office Management Project of Mahidol University International College staff members.&nbsp; The research tools used for data collection in this study was a questionnaire that was completed by 107 staff members.&nbsp; The responses were statistically analyzed to determine percentage, mean, &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;t-test and One-Way ANOVA values.&nbsp; The results show that the staff members’ participation behavior in benefit utilization was at the high level ( &nbsp;=3.67). The staff members’ participation behavior in practices was at the high level ( &nbsp;=3.49). The staff members’ participation behavior in monitoring and evaluation was at average ( &nbsp;=3.16). The staff members’ participation behavior in planning was at average ( &nbsp;=2.71). The comparison of the staff members’ participation behavior in the Green Office Management Project reveals that gender differences of staff members have a significant effect on participation behavior in benefit utilization.&nbsp; Age differences of staff members have a significant effect on participation behavior in planning.&nbsp; Educational level differences of staff members have a significant effect on participation behavior in benefit utilization. Department differences of staff members have a significant effect on participation behavior in monitoring and evaluation. In conclusion, all are statistically significant at the 0.05 level.</p> 2019-11-16T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/165982 Change Beliefs of Gambling Behavior in Thai Society 2019-11-16T15:54:32+07:00 Supit Boonlab supitboonlab@gmail.com Pattama Pasitpakakul pattama@rmutt.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The aim of this study is to investigate and review different Thai gambler’s behavior from past to present gambling styles. It uses qualitative methods to collect data with in-depth interviews of 10 gamblers through the snowball technique. The interviews use a through video call with an unstandardized form. The results reveal that 1) currently there are many types of online gambling where players can bet via a website. This is a new gambling style that is different from original gambling style which is typically between a gambler and gambling host; 2) gamblers play more often anytime during the day and anywhere with a variety of gambling programs via smart phone, tablet, or computer; 3) technology devices have a strong influence on gambler’s behavior, i.e., Facebook and LINE; 4) The beliefs change along variety of gambling programs so those (superstition, faith, angles, holiness, and other situations) beliefs in the past were eliminated and new gambling styles (superstition and technology devices that guide to player) were created in their place; 5) the cashless society from technology and government significant impacts the new gambling behaviors by allowing internet banking for player credit.</p> 2019-11-16T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/193776 ศิลปะสำคัญไฉนสำหรับวัยเด็ก: ผ่านมุมมองของ Reggio Emilia Approach (Miracle of Arts for Early Childhood: Via the Lens of Reggio Emilia Approach) 2019-11-15T16:09:26+07:00 โสวริทธิ์ธร จันทร์แสงศรี (Sovaritthon Chansaengsee) torputaosince1952@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; วัตถุประสงค์ของบทความวิจัยครั้งนี้คือ เพื่อถ่ายทอดคุณค่าของศิลปะที่มีอิทธิพลด้านบวกต่อพัฒนาการทางด้านการรู้คิดและสติปัญญาของเด็กผ่านมุมมองของเรกจิโอ เอมิเลีย โดยผู้เขียนศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ หนังสือ บทความ งานวิจัย เอกสารวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ศิลปะและแนวคิดเรกจิโอ เอมิเลีย ในมิติของการนำแนวคิดเรกจิโอ เอมิเลียที่เน้นด้านศิลปะมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาศักยภาพของเด็กก่อนวัยเรียน โดยปรัชญาที่โดดเด่นและถือเป็นหลักการสำคัญที่มีอิทธิพลกับมุมมองต่อเด็กของครูผู้สอน คือ ปรัชญา 100 ภาษาของเด็ก นอกจากนี้หลักสูตรของเรกจิโอ เอมิเลีย เน้นบุคคลากรที่เชี่ยวชาญทางด้านศิลปะโดยมีฐานะเป็นครูประจำในทุกชั้นเรียน แนวคิดนี้เป็นแนวคิดการศึกษาทางเลือกซึ่งเป็นที่ยอมรับและถูกนำไปประยุกต์ใช้ในหลากหลายประเทศรวมถึงประเทศไทย โดยเรกจิโอ เอมิเลีย แทรกศิลปะเข้าไปในสภาพแวดล้อม กระบวนการจัดการเรียนการสอน สำหรับเสริมสร้างและพัฒนาทักษะด้านสติปัญญาและทักษะทางสังคม เพื่อเตรียมพร้อมสู่การเรียนรู้เชิงวิชาการต่อไป</p> <p>&nbsp;</p> <p class="p1" style="text-align: justify; text-justify: inter-cluster; tab-stops: 44.8pt 59.55pt 70.9pt 79.4pt 87.9pt;"><span style="font-size: 15.0pt; font-family: 'TH SarabunPSK','sans-serif';">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The objective of this article is to convey the value of arts which positively influence children<span lang="TH">’</span>s awareness and intellectual ability via the lens of Reggio Emilia approach<span lang="TH">. </span>The author had studied from secondary resources such as books, articles, research journals, and any other academic document related to arts and Reggio Emilia approach<span lang="TH">. </span>The focus is on the application and implementation of Reggio Emilia approach based mainly on arts to develop the potential of children in early ages<span lang="TH">. </span>The remarkable philosophy of Reggio Emilia approach which is the pivotal principle influencing the view of teachers on children is children<span lang="TH">’</span>s 100 languages<span lang="TH">. </span>Additionally, the curriculum of Reggio Emilia emphasizes on the specialists in arts as a key person working routinely in every class<span lang="TH">. </span>This is an alternative education broadly accepted and applied by a lot of schools in different countries including Thailand<span lang="TH">. </span>This approach incudes arts into the environment, teaching and learning procedures in order to develop intellectual and social skills of early childhood children to prepare them to the next step of learning life<span lang="TH">.</span></span></p> 2019-11-15T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/186722 ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของพนักงานกวาดถนนในเขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร (Health Status And Health Behaviors Among Street Sweepers In Khannayao District, Bangkok Metropolitan) 2019-11-16T16:25:34+07:00 สุรัตนา ทศนุต (Surattana Tossanoot) rungnapa@bcnnv.ac.th มัณฑนา เหมชะญาติ (Monthana Hemchayat) monthana@pnc.ac.th พรรณภา เรืองกิจ (Phannapa Ruangkig) phannapa@bcnnv.ac.th รุ่งนภา โพธิ์แสน (Rungnapa Posaen) Surattana@bcnnv.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; พนักงานกวาดถนน เป็นผู้ประกอบอาชีพที่การทำงานมีความเสี่ยงที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น ลักษณะงานและช่วงเวลาของการปฏิบัติงานยังเป็นอุปสรรค ต่อการดูแลรักษาสุขภาพตนเองของบุคคลกลุ่มนี้อีกด้วย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของพนักงานกวาดถนน ในเขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงานกวาดถนน ที่ปฏิบัติงานใน เขตคันนายาว จำนวน 93 คน ซึ่งได้จากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ เครื่องชั่งน้ำหนัก สายวัด เครื่องวัดความดันโลหิต และแบบสอบถามที่คณะผู้วิจัยสร้างขึ้นประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล และแบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ และแบบสอบถามความเครียดของกรมสุขภาพจิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 95.7 และมีอายุเฉลี่ย 45.16 ปี จากการประเมินภาวะสุขภาพ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ในภาวะอ้วน โดยมีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์อ้วนคิดเป็นร้อยละ 61.3 &nbsp;จำแนกเป็นอ้วนระดับ 1 (BMI=25.00-29.99) ร้อยละ 40.9 และอ้วนระดับ 2 (BMI มากกว่า 30.00) ร้อยละ 20.4 กลุ่มตัวอย่างเพียงร้อยละ 22.6 มีดัชนีมวลกายปกติ (BMI=18.50-22.99) สำหรับภาวะอ้วนลงพุง พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 72.1 มีภาวะอ้วนลงพุง (รอบเอว≥90ซม.ในผู้ชายและ≥80 ซม.ในผู้หญิง) นอกจากนั้น ยังพบภาวะความดันโลหิตสูง โดยกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 14.0 มีความดันซิสโตลิคสูง (≥140 มม.ปรอท) และร้อยละ 11.8&nbsp; มีความดันไดแอสโตลิคสูง (≥90 มม.ปรอท)&nbsp; สำหรับสุขภาวะทางจิต พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 2.2 &nbsp;มีภาวะเครียดในระดับเครียดมาก ร้อยละ 38.7 มีเครียดในระดับสูงกว่าปกติเล็กน้อย และร้อยละ 49.5 มีระดับเครียดปกติ</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ส่วนพฤติกรรมสุขภาพของพนักงานกวาดถนน พบว่า มีการปฏิบัติที่อาจส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ ได้แก่ ด้านการบริโภค กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 57.0 รับประทานอาหารที่มีน้ำมัน ทอด ผัด และร้อยละ 43.0 ดื่มน้ำอัดลม น้ำหวานบ่อยและเป็นประจำ ด้านการออกกำลังกาย พบว่า ร้อยละ 77.4 ขาดความสม่ำเสมอในการออกกำลังกาย และ ร้อยละ 16.1 ออกกำลังกายบางครั้ง สำหรับการจัดการความเครียด พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 64.6 ปรึกษาเพื่อนหรือญาติ แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีพนักงานกวาดถนนในการศึกษาครั้งนี้ร้อยละ 36.6 ปล่อยชีวิตให้เป็นไปตามยถากรรมบ่อยครั้ง</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษาครั้งนี้บ่งชี้ว่า พนักงานกวาดถนนส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพทางกายคือมีภาวะอ้วนซึ่งเป็นความเสี่ยงต่อโรคเมตาบอลิค นอกจากนั้นบุคคลกลุ่มนี้บางส่วนยังมีความเครียดในระดับเกินกว่าปกติ และยังมีพฤติกรรมสุขภาพที่จะนำไปสู่ความเจ็บป่วยด้วย&nbsp; ดังนั้น กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันความเจ็บป่วยจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนสำหรับประชาชนในกลุ่มนี้</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; Street sweepers are at risk of occupational health hazards and then work achedules deter them from proper self-care. This survey study aimed to assess health status and health behaviors of street sweepers in Khannayoa, Bangkok. The sample included 93 conveniently selected street sweepers working in Khannayoa. Data were collected in April 2015 using physical measurement instrument and questionnaire. The physical instrument included weighing scale , measuring tape, and sphygmomanometer, The questionnaire, developed by the researcher, consisted of personal information, health behaviors, and stress measurement (GHQ-28) developed by the Department of Mental Health. Data were analyzed by using descriptive statistics.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; It was found that the majority of the samples were female (95.7%) with the average age of 45.16 years. Results of health assessment showed that most of them (61.3%) had body mass index (BMI) above normal level, 40.9% of whom were classified as first degree obesity (BMI between 25.00-29.55), 20.4% were second degree obesity (BMI &gt; 30.00), and only 22.6% of them had normal level of BMI (18.5-22.99). As for metabolic syndrome, it was found that 72.1% of the samples were of risk of metabolic syndrome (waist circumference ≥ 90 cm. in men and ≥ 80 cm. in women) In addition, 14.0% of the sample had high systolic BP (≥140 mmHg.) and 11.8% had high diastolic BP (≥90mmHg.). Mental Health assessment revealed that 2.2% of the samples were under severe stress, 38.7% were under stress slightly higher than normal, and 49.5% were at normal level.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; It was from that street sweepers had unhealthy behaviors that adversely affected health these included eating oily food (57.0%), consuming carbonate drinks, sweeten frequently and regularly (43%) ,77.4% did not have leisure exercise, and 16.1% did exercise sometimes. For stress management, the majority (64.6%) sought advice from friends or relative, and some of these people had high level of stress and unhealthy health behaviors that could lead to illnesses. Therefor, health promotion to programs prevent illnesses are urgently needed for their group.</p> 2019-11-16T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/186515 การเปรียบเทียบทักษะการแต่งคำประพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist กับวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (Comparison Of Constructivist And Traditional Learning Approaches To The Poetry Composition Skills Of Matthayom Sueksa Two Students) 2019-11-19T15:05:09+07:00 สุริยา แสนสุขไสย (Suriya Sansuksai) suriya.sansuksai@gmail.com สุวรรณี ยหะกร (Suwannee Yahakorn) suriya.sansuksai@gmail.com นพคุณ คุณาชีวะ (Noppakun Kunacheewa) suriya.sansuksai@gmail.com วรนุช แหยมแสง (Woranuch Yeamseang) suriya.sansuksai@gmail.com เด่นดาว ชลวิทย์ (Dendow Chollawit) suriya.sansuksai@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะการแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist กับวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (2) เปรียบเทียบทักษะการแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างก่อนเรียน และหลังเรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist (3) เปรียบเทียบทักษะการแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างก่อนเรียน และหลังเรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling) โดยการนำคะแนนสอบกลางภาค วิชาภาษาไทยของนักเรียนทั้ง 12 ห้องมาหาค่าความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA) แล้วเลือกคู่ของค่าเฉลี่ยที่ไม่แตกต่างกันจำนวน 1 คู่มาจับสลาก พบว่า นักเรียนห้องที่ 9 เป็นกลุ่มที่เรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist และนักเรียนห้องที่ &nbsp;12 เป็นกลุ่มที่เรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist จำนวน 5 แผน และแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ จำนวน 5 แผน และแบบทดสอบวัดทักษะการแต่งคำประพันธ์ โดยใช้เกณฑ์การประเมินผลการแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ ซึ่งผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ และหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การทดสอบค่าที (t test) แบบ dependent และ independent</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) ทักษะการแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ทักษะการแต่งคำประพันธ์ของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist สูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ทักษะการแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2&nbsp; ที่เรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist พบว่า ทักษะการแต่งคำประพันธ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ทักษะการแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ พบว่า ทักษะการแต่งคำประพันธ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aims to (1) compare the skill of composing verse Klansupap student's grade 2 during the learning along. Constructivist Learn how to manage normal (2) compare the skills of composing verse Klansupap of high school students during the previous two years. And after learning how to deal with learning along. Constructivist (3) compare the skills of composing verse Klansupap of high school students during the previous two years. And after learning how to deal with normal learning.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The sample used in this study were students at two schools Nawaminthrachinuthit Rachinuthit. Suankularb Prakan 2nd semester 2561 academic year, which was selected by a simple random sampling (simple random sampling) by the midterm. Language Thailand's students and 12 rooms for the ANOVA (one-way ANOVA) and a pair of averages is no difference of 1 pair lottery found that students in the 9th, a group learning method. learning along Constructivist And 12 students in a class to learn how to deal with before.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The tools used in this research. Plan how to deal with learning along. Constructivist 5 plans and lesson plans, learning how to deal with the normal 5 skills test plan and composing poetry. The evaluation criteria composing poetry category Klansupap. Which have been audited by an expert. And IOC (IOC) used for data analysis. T test (t test) a dependent and independent.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results were as follows: (1) skill composing poetry category Klansupap. Senior students of 2nd year found that the average score of students with learning along. Constructivist Higher than the average score of students who learn how to deal with a normal level of statistical significance. 05 (2) skills in composing poetry category Klansupap. Students of Grade 2 students learn how to deal with along. Constructivist found the back of higher learning classes. Statistically significant at the .05 level. (3) skills composing poetry category Klansupap. Students of Grade 2 students learn how to deal with normal scores were higher than the previous class. The statistical significance level. 05.</p> 2019-11-19T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/158711 Construction and Application of Sustainable Tourism Theory: A Case Study of Ban Mae Kampong, Huay Kaew Sub-district, Mae On District, Chiang Mai Province 2019-11-19T16:37:37+07:00 Sorak Dithaprayoon sorakkie@hotmail.com Sidthinat Prabudhanitisarn sidtinat@gmail.com <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Thailand’ alternative tourism has been criticized both in terms of paradigm and process.&nbsp; People believed that it is not the way to develop the tourism to become the sustainable and genuine one.&nbsp; The purpose of this research is to construct a new theory to be applied to alternative tourism. This theory will be a logical offer to the thinking and practical methods.&nbsp; Globalization and local capitals have to be considered.&nbsp; Some other theories are also applied in this study.&nbsp; The Participation Action Research Process (PAR) and the knowledge integration is used.&nbsp;&nbsp; Ban Mae Kampong is the sample of the study.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;The study reveals that according to the theory, it is important to make the local capitals strong by to find virtue of the local capitals&nbsp; these are tourism resources (includes the natural resources, the social and cultural ones).&nbsp; The local capitals connect people to the tourism businesses.&nbsp; So, they need to be revitalization first.&nbsp; Then their virtue will turn into value in the form of tourism packages.&nbsp; In order to produce tourism packages, creativity will play an important role to increase the benefit of the virtue and the value.&nbsp; The knowledge management from both the local area and the outside community.&nbsp; The local people will have to adopt entrepreneurship in order to access, control and have an ownership of their resources.&nbsp; This includes that the local people’s&nbsp; participation in the market management and the public relations.&nbsp; The final outcome will be the sustainable and genuine tourism.</p> 2019-11-19T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/170728 ศึกษาภาษาเขมรพนมเปญตามแนวภาษาศาสตร์ (A linguistics study of Khmer in Phnom Penh ) 2019-11-19T16:58:36+07:00 หงษ์ลดา กล้าหาญ (Honglada Klaharn) nong_070@hotmail.com เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์ (Ruengdet Pankhuenkhat) sidtinat@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การศึกษาภาษาเขมรพนมเปญตามแนวภาษาศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ 1)-ศึกษาระบบเสียงภาษาเขมรพนมเปญ 2) ระบบคำภาษาเขมรพนมเปญ 3) ระบบประโยคภาษาเขมรพนมเปญ และ 4) ศึกษาการเปรียบเทียบการใช้คำศัพท์ภาษาพูดและภาษา ข้อมูลที่รวบรวมได้จากผู้บอกภาษา 10 ท่าน มีอายุมากกว่า 50-ปีขึ้นไป ที่เป็นชาวพนมเปญที่อาศัยอยู่ในพื้นที่กรุงพนมเปญ ซึ่งเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรกัมพูชา และเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ซึ่งการศึกษาระบบเสียงภาษาเขมรพนมเปญ ได้แก่ 1) หน่วยเสียงพยัญชนะและสระภาษาเขมรพนมเปญ ซึ่งหน่วยเสียงพยัญชนะภาษาเขมรพนมเปญ มีจำนวน&nbsp; 22 หน่วยเสียง คือ /p/, /t/, /c/ , /k/, /q/,&nbsp; /ph/, /th /, /ch/, /kh/, /d/, /b/, /f /, /s/, /h/, /m/,&nbsp; /n/, /ñ/, /ŋ/, /r/, /l/, /w/ และ /y/ &nbsp;และหน่วยเสียงสระภาษาเขมรพนมเปญ มีจำนวน 31 หน่วยเสียง&nbsp; 2) คำคู่เทียบเสียงพยัญชนะภาษาเขมรพนมเปญ มีจำนวน 21 หน่วยเสียง และคำคู่เทียบเสียงสระภาษาเขมรพนมเปญ มีจำนวน 11 หน่วยเสียง 3) เสียงพยัญชนะควบกล้ำภาษาเขมรพนมเปญ มีจำนวน 85 หน่วยเสียง และ 4) หน่วยเสียงพยัญชนะกดภาษาเขมรพนมเปญ มีจำนวน 13 หน่วยเสียง คือ /k/, /ŋ/, /t/, /p/, /n/, /m/, /y/, /w/, /q/, /c/, /ñ/, /l/, และ/h/ &nbsp;การศึกษาระบบคำภาษาเขมรพนมเปญ 1) หน่วยคำของภาษาเขมรพนมเปญ ได้แก่ หน่วยคําอิสระและหน่วยคำไม่อิสระ 2) พยางค์ของภาษาเขมรพนมเปญ มีจำนวน 3 ชนิด คือคำพยางค์เดียว คำสองพยางค์และหลายพยางค์ และ 3) การจำแนกหมวดของภาษาเขมรพนมเปญ มีจำนวน 10 หมวด การศึกษาระบบประโยคในภาษาเขมรพนมเปญ มีจำนวน 3 แบบ คือ ประโยคไม่สมบูรณ์ ประโยคสมบูรณ์ และประโยคซับซ้อน &nbsp;การเปรียบเทียบการใช้คำศัพท์ภาษาพูดและภาษาเขียนในภาษาเขมรพนมเปญ ซึ่งภาษาพูดมีใช้ทั่วไป โดยการใช้งานอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ การใช้ภาษาเขมรพนมเปญมีความแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับบริบทการใช้ภาษาทางสังคมนั้นๆ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; A linguistics study of Khmer in Phnom Penh, This study aims to 1) To study Khmer phonology in Phnom Penh 2) To study Khmer morphology in Phnom Penh 3) To study Khmer sentences system in Phnom Penh and 4) To study Khmer comparison of spoken and written forms of Khmer in general and official usage, the data was collected from 10 native speakers who were over 50 years old and living in Phnom Penh, The capital city of Cambodia, The study was conducted under structural and descriptive Quality linguistics. The study found that 1) The phonological structure of Khmer in Phnom Penh consists of 22 consonant phonemes, that is ; /p/, /t/, /c/, /k/, /q/, /ph/, /th /, /ch/, /kh/,&nbsp; /d/, /b/, /f /, /s/, /h/, /m/, /n/, /ñ/, /ŋ/, /r/, /l/, /w/ and /y/ 31 Khmer in Phnom Penh Vowel phonemes, 2) 21 Khmer consonants contrasts in Phnom Penh and 11 Khmer&nbsp; Vowel contrasts in Phnom Penh, 3) 85 Khmer consonant in Phnom Penh clusters and 4) 13 Khmer final consonants in Phnom Penh that is ; /k/, /ŋ/, /t/, /p/, /n/, /m/, /y/, /w/, /q/, /c/, /ñ/, /l/, and /h/, The morphological in Phnom Penh, 1) The morphological structure consists, that is ; &nbsp;free morpheme and bound morphemes, 2) 3 Syllable word, that is ; &nbsp;Monosyllabic word, Disyllabic word and Polysyllabic word and 3) 10 words classes, The sentences system in Phnom Penh has 3 types, simple sentences, compound and complex sentence, and The Comparison of spoken and written forms of Khmer in Phnom Penh&nbsp; used in general and official usage are different from each other according to the social context, are all so given for comparative study</p> 2019-11-19T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/192263 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลระหว่างการจัดการคุณภาพห่วงโซ่อุปทาน และการสร้างความได้เปรียบด้านการแข่งขัน กรณีศึกษาผู้ผลิตยาบัญชีนวัตกรรม (Canonical correlation analysis between Supply Chain Quality Management and Competitive Advantage: The case study innovative drug manufacturers) 2019-11-20T10:45:19+07:00 อนันต์ วัชรดำรงกุล (Anan Watcharadamrongkun) ananwatc1@gmail.com ประสพชัย พสุนนท์ (Prasopchai Pasunon) Arthur&kim@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการจัดการคุณภาพห่วงโซ่อุปทาน และการสร้างความได้เปรียบด้านการแข่งขัน กรณีศึกษาผู้ผลิตยาบัญชีนวัตกรรม และ 2) สหสัมพันธ์คาโนนิคอลระหว่างการจัดการคุณภาพห่วงโซ่อุปทาน และการสร้างความได้เปรียบด้านการแข่งขัน กรณีศึกษาผู้ผลิตยาบัญชีนวัตกรรม ประชากรในการวิจัยเป็นพนักงานจัดซื้อ และขนส่ง ของผู้ผลิตยาบัญชีนวัตกรรม จำนวน 172 คน จากจำนวน 13 บริษัท&nbsp; เลือกสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ การวิจัยนี้ใช้สถิติพรรณนา โดยศึกษาข้อมูลจากค่าสถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความสัมพันธ์เขิงสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลจากข้อมูลการจัดการคุณภาพห่วงโซ่อุปทาน ของผู้ผลิตยาบัญชีนวัตกรรม อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.610, S.D. = 0.673) โดยมีผล ของการจัดการคุณภาพห่วงโซ่อุปทาน ของผู้ผลิตยาบัญชีนวัตกรรม ผลข้อมูลอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาแยกเป็นรายปัจจัย ระดับข้อมูลค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ กลยุทธ์คุณภาพห่วงโซ่อุปทาน (ค่าเฉลี่ย = 3.758, S.D. = 0.669) ในปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์&nbsp; (ค่าเฉลี่ย = 3.481, S.D. = 0.638)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลจากข้อมูลการสร้างความได้เปรียบด้านการแข่งขัน ของผู้ผลิตยาบัญชีนวัตกรรมอยู่ในระดับที่สูงมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.656, S.D. = 0.671) และเมื่อพิจารณาแยกเป็นรายปัจจัย ระดับข้อมูลค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ&nbsp; ความน่าเชื่อถือของการส่งมอบ (ค่าเฉลี่ย = 3.692, S.D. = 0.659) ในปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ราคา/ ต้นทุน (ค่าเฉลี่ย = 3.586, S.D. = 0.671)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลระหว่างการจัดการคุณภาพห่วงโซ่อุปทาน และการสร้างความได้เปรียบด้านการแข่งขัน กรณีศึกษาผู้ผลิตยาบัญชีนวัตกรรม มีค่า RC2 เท่ากับ 0.846 แสดงค่าความแปรปรวนร่วมกันระหว่างตัวแปรคาโนนิคอลทำนาย กับตัวแปรคาโนนิคอลเกณฑ์ ที่ 84.6 เปอร์เซ็นต์</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research aimed to study 1) The Supply Chain Quality Management level and Competitive Advantage case study of innovative drug manufacturers and 2) Canonical correlation between Supply Chain Quality Management and Competitive Advantage case study of innovative drug manufacturers. The population of the research was the purchasing and transportation staffs 172 people of innovative drug manufacturers from 13 companies. The research used the method sampling to select the floor tools used for data collection. By studying data from statistic mean, standard deviation, Pearson Correlation Coefficient and canonical correlation analysis.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Result from Supply Chain Quality Management information of innovative drug manufacturers shown that innovative account at a high level ( &nbsp;<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 3.610, S.D. = 0.673) with the effect of quality management in the supply chain of pharmaceutical manufacturers. When we considered separately into two factors, we found the highest average data level was the supply chain quality strategies ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.758, S.D. = 0.669). Another factors show in the lowest average factor, the support Human Resources Development ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.481, S.D. = 0.638)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The Competitive Advantage data of the case study innovative drug manufacturers, innovative account at a high level ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp;= 3.656, S.D. = 0.671) when considering individually the highest average data level was Delivery Dependability (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> &nbsp;= 3.692, S.D. = 0.659) in the factors with the lowest mean, Price/ Cost (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 3.586, S.D. = 0.671)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Canonical correlation analysis between Supply Chain Quality Management and Competitive Advantage case study of innovative drug manufacturers had the value R<sub>C</sub><sup>2 </sup>which is about 0.846, showing the common variables between predicted canonical variables. Canonical variable had the criterion and composite variables 84.6 percent.</p> 2019-11-20T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/153679 ปัจจัยที่ส่งผลต่อองค์กรแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรม ที่ส่งผลต่อผลการดำเนินการของบริษัทผู้ผลิตยาแห่งหนึ่ง: กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม (Factor Affecting Of Learning Organaization And Innovation To Performance Of A Pharmaceutical Manufacturing In Nakhon Pathom) 2019-11-20T10:57:34+07:00 อนันต์ วัชรดำรงกุล (Anan Watcharadamrongkun) ananwatc1@gmail.com ประสพชัย พสุนนท์ (Prasopchai Pasunon) Arthur8kim@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาอิทธิพลปัจจัยที่ส่งผลต่อองค์กรแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรมที่ส่งผลต่อ ผลการดำเนินการของบริษัทผู้ผลิตยาแห่งหนึ่ง: กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม การศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ใช้ประชากรคือ พนักงานของบริษัทผู้ผลิตยาแห่งหนึ่ง จำนวน 110 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีสมการถดถอยเชิงพหุ ผลวิจัยพบว่า&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผลองค์กรแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรมที่ส่งผลต่อ การดำเนินการ ของบริษัทผู้ผลิตยาแห่งหนึ่ง: กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม ผลการดำเนินงานขององค์กร ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 3.5086, S.D. = 0.6662) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน&nbsp;พบว่าค่าเฉลี่ยทั้ง 4 ด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยตามลำดับ 1) นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 3.4364, S.D. = 0.7498)2) นวัตกรรมกระบวนการ ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 3.2591, S.D. = 0.8472) 3) นวัตกรรมตการลาด ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 3.3394, S.D. = 0.8190) และ 4) องค์กรแห่งการเรียนรู้&nbsp; ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 3.2792, S.D. = 0.7366) &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ปัจจัยที่ส่งผลต่อองค์กรแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรมที่ส่งผลต่อ ผลการดำเนินการของบริษัทผู้ผลิตยาแห่งหนึ่ง: กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม ได้แก่ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (β = 0.160, p &lt; 0.05)&nbsp; นวัตกรรมกระบวนการ (β = -0.019, p &lt; 0.05)&nbsp; นวัตกรรมการตลาด (β = -0.018, p &lt; 0.05) และองค์กรแห่งการเรียนรู้ (β = 0.677, p &lt; 0.05) ปัจจัยที่ส่งผลต่อองค์กรแห่งการเรียนรู้ อิทธิพลทางบวกต่อการดำเนินการมากที่สุด รองลงมาเป็นนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมกระบวนการและนวัตกรรมการตลาดไม่ส่งผลต่อการดำเนินการ ผลการทดสอบแสดงให้เห็นนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ และองค์กรแห่งการเรียนรู้ ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของการดำเนินการของผู้ผลิตยาแห่งหนึ่ง จังหวัดนครปฐม</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purpose of this study was to study Factor Affecting of Learning Organization and innovation to performance of a pharmaceutical manufacturing in Nakhon Pathom. Quantitative research used the employees of a pharmaceutical manufacturing in Nakhon Pathom 110 persons are collected the data by questionnaire and analyzed by multiple regression method.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The result of Learning Organization and Innovation to Performance of a Pharmaceutical Manufacturing in Nakhon Pathom was level of Organizational Performance ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.5086,&nbsp; S.D. = 0.6662). When considering each aspect, it was found that the 4 aspects. The average is in order. As follows 1) Product innovation ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.4364, S.D. = 0.7498) 2) Process innovation ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.2591, S.D. = 0.8472) 3) Market Innovation ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.3394, S.D. = 0.8190) and 4) Learning Organization ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 3.2792, S.D. = 0.7366)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Factor Affecting of Learning Organization and innovation to performance of a pharmaceutical manufacturing in Nakhon Pathom. Product innovation (β = 0.160, p &lt; 0.05), Process innovation (β = -0.019, p &lt; 0.05), Market innovation, and Learning organization (β = 0.677, p &lt; 0.05). Learning Organization factor had maximized positively influenced performance. The second was product innovation. Process innovation and market innovation had not positive effect to performance. The result show that product innovation and Learning Organization factor increase effect to performance of a pharmaceutical manufacturing in Nakhon Pathom.</p> 2019-11-19T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/190618 STUDENTS’ PERSPECTIVES AND TEACHER’S EXPERIENCES ON THE INTEGRATION OF INTERCULTURAL CONTENTS TO TASK-BASED ACTIVITIES 2019-11-20T11:02:29+07:00 Onwaree Promta faasspts@ku.ac.th Suphatra Sucharitrak icetimwan@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purpose of this study was to investigate the effectiveness of the integration of the intercultural contents to task-based activities in EFL classroom setting. Data collected include teacher’s reflective journals, student focus group interview, and students’ learning logs. The findings suggest that the integration of intercultural contents to task-based activities is a feasible and effective innovation for teaching language and culture. The integration of intercultural contents to task-based activities was reported to be beneficial in engaging and motivating students in learning, enhancing intercultural awareness, and improving their communication abilities. However, students expressed difficulties with using target language during doing tasks.</p> 2019-11-20T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/194028 บทบาทของโรงภาพยนตร์ในยุคจอมพล ป. พิบูลสงคราม (Roles of Cinema in the Age of Filed Marshall Plaek Pibulsongkram) 2019-11-20T11:10:12+07:00 อิสรีย์ คุณากรบดินทร์ (Isaree Kunakornbodin) kunakornbodin.i@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถาปัตยกรรมประเภทโรงภาพยนตร์ โดยมุ่งศึกษาโรงภาพยนตร์ที่ถูกสร้างขึ้นในสมัยหลัง พ.ศ. 2475 อันเป็นผลเกี่ยวเนื่องมาจากนโยบายสร้างชาติของจอมพล ป. พิบูลสงคราม</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จากการศึกษาพบว่าการชมมหรสพนั้นมีความสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง &nbsp;แต่จำกัดความนิยมเฉพาะในหมู่ชนชั้นนำสยาม และได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในสมัยรัชกาลที่ 7 อย่างไรก็ตาม ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยเฉพาะในสมัยที่จอมพล ป. พิบูลสงครามดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในสมัยแรก (พ.ศ. 2481-2487) รัฐบาลได้ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักและประกอบกิจกรรมการพักผ่อนหย่อนใจ เพื่อแสดงถึงความเป็น “อารยะ” ของประชาชนในชาติ หนึ่งในนั้นคือการชมภาพยนตร์อันนำมาซึ่งการก่อสร้างสถาปัตยกรรมเพื่อรองรับกิจกรรมดังกล่าว</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในบทความนี้ใช้หลักฐานประเภทเอกสารจากหอจดหมายเหตุ แบบทางสถาปัตยกรรม และหนังสือที่ระลึกเกี่ยวกับอาคารโรงภาพยนตร์ทีได้ทำการศึกษา ประกอบกับการสำรวจภาคสนามด้วยตนเอง การศึกษาพบว่าลักษณะร่วมของอาคารเหล่านั้น นอกจากการก่อสร้างด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่แล้ว ยังเป็นสถาปัตยกรรมที่มีขนาดใหญ่ องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมมีความเรียบง่าย ไม่ซับซ้อน มีการวางผังและแบ่งพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลจากการศึกษานี้จะช่วยพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยหลัง พ.ศ. 2475 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคจอมพล ป. พิบูลสงครามให้ดียิ่งขึ้น</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This article purposes to study in cinema architecture emphasizing on the study in cinema constructed in the age of Field Marshall Plaek Pibulsongkram after B.E. 2475 (A.D. 1932) resulted from his Nation Building&nbsp; Policy.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The study results indicated that watching entertainments is inherited from the age prior to the Changing of the Ruling but the popularity was specifically limited the Siam elites and there was great popularity in the reign of the King Rama VII. However, after the Changing of the Ruling, in particular the age which Field Marshall Plaek Pibulsongkram took the position of Prime Minister at the first time (B.E. 2481-2487 or A.D. 1938 - 1944), the government promoted the nationals to know and conduct recreational activities to exhibit their “civilization” and one of these activities was watching motion picture which led to architectural construction to support such activities.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; This article employed documentation evidences derived from National Archives of Thailand, architectural drawings and memorial books regarding the cinemas studied, accompanied with self-field survey. It was found from the study that the common characteristics of such building, aside from construction using modern technologies, are the large architecture with simple and plain architectural compositions as well as the planning and area separation were conducted obviously.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; These study results help in improvement of knowledge regarding new age architecture in Thailand after B.E. 2475.</p> 2019-11-20T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/122902 การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่บนทางเดินเท้า, สิทธิ์ที่ถูกเปลี่ยนจากการครอบครองพื้นที่ แบบชั่วคราวของผู้ค้าบริเวณท่าช้างบนถนนหน้าพระลาน (Transformation of the Sidewalk, The Right for Interchangeability of Temporary Spatial Claims by Retailers around Tha Chang Community on Na Phra Lan Road.) 2019-11-20T16:49:39+07:00 ปณิดา คุณาวรรณ (Panida Kunawan) formfollow@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; บทความนี้ทำการศึกษาในเรื่องการใช้พื้นที่ค้าขายบนพื้นที่ทางเดินเท้า การใช้งานที่เปลี่ยนไปจากการเข้าครอบครองพื้นที่บนทางเดินเท้าของพื้นที่ค้าขายแบบชั่วคราว มุ่งไปที่การทำความเข้าใจพฤติกรรมการใช้พื้นที่ของร้านค้าที่ตั้งอยู่บนทางสัญจรกับคนเดินเท้า การซ้อนทับของทั้ง 2 กิจกรรมผ่านการวางผังและการใช้องค์ประกอบในการสร้างขอบเขตการใช้พื้นที่ของร้านค้า ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะของรูปแบบพื้นที่ระหว่าง 2 กิจกรรม โดยเลือกพื้นที่ศึกษาบริเวณพื้นที่ท่าเรือท่าช้างเชื่อมกับถนนหน้าพระลาน กรณีศึกษาความสัมพันธ์ของ 2 พื้นที่ คือพื้นที่ร้านค้าและพื้นที่ทางเดินเท้าเชื่อมจากท่าเทียบเรือสู่ภายในอาคารซึ่งเป็นพื้นที่ค้าขายภายในสู่บริเวณลานคนเมืองท่าช้างภายนอก ซึ่งพื้นที่ที่เห็นความสัมพันธ์ของ 2 พื้นที่กิจกรรมที่ซ้อนทับกันที่ชัดเจนที่สุดระหว่างทางเดินเท้ากับพื้นที่ค้าขายของร้านค้าซึ่งเป็นพื้นที่แบ่งเช่าสำหรับค้าขายในอาคารท่าช้างโดยเก็บข้อมูลจากการสังเกตและถ่ายภาพผู้ใช้และการตั้งแผงของร้านค้าตั้งแต่ 7.00น.-19.00น. ศึกษาผังรวมที่สัมพันธ์กับรูปแบบและสัดส่วนของการจัดพื้นที่ร้านค้าที่มีพื้นที่จัดวางสินค้าและพื้นที่สำหรับเลือกซื้อสินค้ากับพื้นที่ทางเดินเท้า ผลจากการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์พบลักษณะการจัดวางของพื้นที่ร้านค้าแต่ละประเภทแตกต่างกันที่สัมพันธ์กับพื้นที่ทางเดิน คือ 1. ลำดับของพื้นที่ (พื้นที่จัดวางสินค้า-พื้นที่เลือกซื้อ) การออกแบบเดิมจากส่วนกลางของเจ้าของอาคารที่มีการกำหนดให้พื้นที่วางสินค้าอยู่ภายใน จากการออกแบบเดิมที่กำหนดขอบเขตร้านค้าด้วยเสา ผนังและการทางสีบนพื้นโดยเจ้าของอาคารให้พื้นที่วางสินค้าอยู่ภายในขอบเขตของร้านที่กำหนดและเว้นพื้นที่ส่วนทางเดินกลาง พบว่าการสร้างขอบเขตพื้นที่เองแบบชั่วคราวของร้านค้าทำให้ขนาดพื้นที่และลำดับความสัมพันธ์จากพื้นที่ทางเดินเข้าสู่พื้นที่เลือกสินค้าและพื้นที่วางแผงสินค้าเปลี่ยนไป 2. ลักษณะของการเลือกใช้องค์ประกอบทางกายภาพในการสร้างขอบเขตพื้นที่ค้าขายขึ้นมาใหม่แบบชั่วคราว มีการใช้องค์ประกอบในการสร้างขอบเขตพื้นที่ที่แตกต่างกันในร้านค้าแต่ละประเภทซึ่งมีผลจากพฤติกรรมของผู้ซื้อที่สัมพันธ์กับประเภทของสินค้าที่มีระยะในการเข้าถึงและเลือกสินค้าแตกต่างกัน ที่ปรับเปลี่ยนพื้นที่ค้าขายเข้าไปซ้อนทับกับพื้นที่ทาง&nbsp; &nbsp; &nbsp; เดินเท้า</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รูปแบบของร้านค้าบนทางเดินเท้าเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงการจัดการพื้นที่ระหว่างทางเดินเท้าและพื้นที่ร้านค้าที่สามารถใช้อยู่บนพื้นที่เดียวกัน การทำความเข้าใจพฤติกรรมการใช้ที่เปลี่ยนแปลงไปในช่วงเวลาจริงบนพื้นที่ศึกษา ทำให้เห็นขอบเขตการใช้พื้นที่ของร้านค้าแบบชั่วคราวร่วมกับทางเดินที่ถูกปรับเปลี่ยนขนาดและลำดับการใช้สอยพื้นที่ รูปแบบงานสถาปัตยกรรมในงานประเภทนี้อาจไม่มีองค์ประกอบในระบบโครงสร้างผนังหรือพื้นที่แยกตัดขาดกันไม่กำหนดความเป็นพื้นที่ของใครอย่างชัดเจนและสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามการใช้งาน อาจทำให้ตอบคำถามถึงรูปแบบงานสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับการใช้สอยประเภทนี้</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research studied the use of the sidewalk for commerce. The function of the sidewalk has transformed because of the temporary spatial claims of the retailers. The research is aimed to understand the behavior of the stores on the sidewalk as an overlapping area that has 2 activities through the city planning and the composition of a border on the stores’s sidewalk usage. The spatial forms of the stores on the sidewalk cause specific areas for those &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;2 activities. The research chose to study around the Tha Chang community on Na Phra Lan road which is the main connection sidewalk from the Chao Phraya River route to Na Phra Lan road. It had the diversity of the stores and the large amount of people using this sidewalk. The data was collected by observation and taking the pictures of people using the sidewalk and the market stalls from 07.00 a.m. to 07.00 p.m. Data was collected on the density of people using the sidewalk around the principle city plan related with the types and sizes of the stores and sidewalk arrangement. It had the space for goods arrangement, purchasing area, and sidewalk area measured by the density of people around the stores. Collecting and analyzing data showed that it had the particularities of the sidewalk transformation as follows: 1. Area organization, such as the space for goods arrangement and purchasing area of the previous design organized to have the walkway and the stalls inside the stores, showing that the stores became more popular if they put the stalls outside, letting the customers see the whole goods affected the purchasing decision. 2.The physical Area partition, such as sidewalk and purchasing area of the previous design that separated the sidewalk by dividing the floor level with retaining wall to obviously determine of the stores area, showing that the good sale stores were the stores that had the purchasing area overlapped with the wide sidewalk area.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The form of these stores on the sidewalk showed that the area arrangement could share the sidewalk and the stores together; and it was not necessary to separate the area distinctly. To understand the behavior that changed in real-time at the study place showed that the border of the temporary stores area shared with the sidewalk that could change the size and area organization. The form of this architecture did not have a wall system nor the divide of areas separately by the level such as sidewalk. An open space not determined by the area owners was the proper architecture for this kind of usage.</p> 2019-11-20T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/174818 Leaf exploration: Visual Element through Natural Resources; Khao Nam Khang National Park, Thailand 2019-11-26T13:36:13+07:00 Pailin Thawornwijit tarnpailin.t@gmail.com Eakachart Joneurairatana Ejeak9@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; Located in the south of Thailand, there hides a quiet and peaceful tropical rain forest called ‘Khao Nam Khang National Park’. The 220 square kilometers national park holds plenty of conserved plant and important woods that sustain the balance in the environment. The area served as the Malayan Communist fighters’ hideout during the 40 years of political insurgency between Thai government and the Communist Party of Malaya. With that reason, the area was almost abandoned from the outside world. It was somehow benefit to the biodiversity of flora and fauna that wait for the natural exploration. Aiming to explore the beauty of nature, the research has applied visual elements from “Leaf” together with fundamental of L-system and Fibonacci theory. Although “Leaf” is a small element, it can represent trees in the forest. It also demonstrates a small universe about life and beauty. Furthermore, leaf is able to tell us about climate change, seasons and ecology. Visual elements, occurred in leaves, are able to tell us about life nourishing and growing. The purpose of this research is to collect data from leaf which composes of visual elements such as shape, form, colour and vein’s pattern to decode and use in visual communication design system. All elements showed on leaf can be developed and applied in many design fields. Referring to the purposes of the research, it targets to assemble data collection for the designers to employ in their careers and provoke their concern and awareness about climate change as well as the benefit of forest through story telling (Illustration).</p> 2019-11-26T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/192238 การศึกษาการดำเนินงานและถอดบทเรียนของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน จังหวัดยโสธร (A Study of Work Performance and Lessons Learned of Community Family Development Center in Yasothon Province) 2019-11-28T10:09:03+07:00 ปิยวัฒน์ กิมะพงศ์ (Piyawath Kimapong) Siwach1980@hotmail.com ศิวัช ศรีโภคางกุล (Siwach Sripokngkul) Siwach1980@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;บทความนี้เป็นการเสนอผลการศึกษาการดำเนินงานและถอดบทเรียนของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน&nbsp; (ศพค.) กรณีศึกษาจังหวัดยโสธร โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนจังหวัดยโสธร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนจังหวัดยโสธร และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนจังหวัดยโสธร โดยมีรูปแบบการศึกษาเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสืบค้นข้อมูลเอกสาร ตำราวิชาการ และใช้วิธีการสัมภาษณ์ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยชิ้นนี้คือ การสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานใน ศพค. ได้แก่ หัวหน้าคณะทำงาน ที่ปรึกษาและคณะทำงาน จำนวน 12 คน ผลการศึกษาได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร ตำราวิชาการ และถอดความจากบทสัมภาษณ์และรายงานผลด้วยการพรรณนา</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผลการศึกษาพบว่า 1) ศพค. ทั้ง 4 แห่ง มีรูปแบบการดำเนินการเชิงรุก กล่าวคือ ศพค.มีสำนักงานที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่สะดวกต่อผู้ใช้บริการ ทั้งมีการจัดโครงการอบรมและจัดกิจกรรมที่จะมุ่งเน้นที่จะพัฒนาคุณภาพของประชาชนในท้องถิ่น โดยมีผู้นำของชุมชนและหน่วยงานในท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง อาทิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน รูปแบบของการดำเนินการจัดกิจกรรม เป็นการจัดอบรมให้ความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่สถาบันครอบครัวและมีการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพของคนในครอบครัว ในบางพื้นที่พบว่ามีการลงพื้นที่เยี่ยมครอบครัวเพื่อให้เข้าถึงปัญหาได้มากขึ้น และผลของการจัดกิจกรรมดังที่กล่าวมาทำให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและได้รับความรู้ที่เกี่ยวกับสถาบันครอบครัวได้ง่ายและครอบคลุม ส่งผลให้ปัญหาภายในครอบครัวใน 4 ตำบลนี้มีจำนวนลดลง สมาชิกในครอบครัวมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันเพิ่มมากขึ้น ทั้งปัญหาด้านการใช้ความรุนแรงลดลงทำให้สถาบันครอบครัวเข้มแข็ง 2) ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานของ ศพค. ทั้ง 4 แห่ง เกิดผลสำเร็จได้เพราะมีคณะทำงานที่เข้มแข็ง เข้าใจถึงกระบวนการและจุดประสงค์ของโครงการ และใส่ใจที่จะแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง ทั้งประชาชนในพื้นที่ให้ความร่วมมือกับการดำเนินกิจกรรมเป็นอย่างดี และได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ทำให้การดำเนินโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพจากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลังการดำเนินจัดกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ &nbsp;จึงทำให้ ศพค. ทั้ง 4 แห่ง ได้รับการประเมินให้มีผลการดำเนินงานในระดับดีเด่นและดี และ 3) ในด้านของข้อเสนอแนะในการดำเนินงานของ ศพค. นั้นพบว่ามีปัญหาในเรื่องของงบประมาณที่ไม่เพียงพอต่อการดำเนินการตามแผนดำเนินการที่กำหนดไว้ ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการดำเนินงานของ ศพค. และทำให้ไม่มีความต่อเนื่องและไม่สามารถดำเนินการให้ครอบคลุมต่อการจัดการปัญหาครอบครัวในทุกด้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This article aimed to present the study of operation and lessons learned of the Community Family Development Center with the case study in Yasothon. The purposes are&nbsp; 1) To study the operation of the Community Family Development Center in Yasothon, 2) To study the factors of the successful operation of the Community Family Development Center in Yasothon, and 3) To study suggestions for the operation of the Community Family Development Center in Yasothon. The research was designed to be qualitative by collecting data from papers, academic textbooks, and interviews. The research instrument was in-deep interview. The target group was 12 operating officers in the Community Family Development Center including heads of the officers, supervisors, and officers. The results were gathered from analyses of information from academic textbooks and paraphrase of the interview and were reported with description.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results illustrated as following details: 1) There were proactive operations in&nbsp; 4 branches of Community Family Development Centers. There were offices in local areas which were convenient for customers. Moreover, there were training programs activities organized to develop the quality of people in local areas by local leaders of communities and related corporations such as Health Promoting Hospitals in districts, Social Development and Human Security Volunteers (SDHSV), Village Health Volunteers (VHV). They provided fruitful knowledge for the family unit and there were activities to strengthen the relationship within family members. In some areas, the families were visited so the problems could be observed more precisely. Finally, the results of the activities had people in the local areas get access to information and knowledge about the family unit more conveniently and thoroughly. Thus, the problems within families in 4 districts were reduced. Besides, the relationship of family members had been improved. Furthermore, the problems about violence were reduced and that entailed the strong family unit. 2) The factors that caused the operations of 4 branches of Community Family Development Center successful were the efficient teamwork, the understanding of the process and the purposes of the project, and attention to fix problems in their areas. Moreover, people in local areas mutually participated in the activities and related departments provided supports which caused the efficient operation of the project. Ultimately, all 4 branches received very good and good levels in the satisfaction survey. 3) For the suggestions of the operation of the Community Family Development Center, it was found that there were problems with insufficient funding to conduct the project as it had been planned. Hence, it caused discontinuity and incomprehensive problem-solving of the family unit.</p> 2019-11-28T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/201831 การแทรกแซงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2557 (The Intervention of the Local Administrative Organization after Thailand’s coup d’état 2014 ) 2019-11-28T10:15:02+07:00 เจนจบทิศ จารึกกลาง (Jenjobthid Jarukklang) Jenjobthid.j@kkumail.com ศิวัช ศรีโภคางกุล (Siwach Sripokangkul) siwasri@kku.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) รูปแบบการแทรกแซงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2557 2) ผลกระทบต่อการกระจายอำนาจในประเทศไทย ดำเนินการศึกษาวิจัยโดยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาและวิเคราะห์จาก เอกสาร กฎหมาย คำสั่ง รายงานการวิจัย บทความวิชาการ หนังสือ และ สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ตลอดจนเอกสารออนไลน์ ที่เกี่ยวข้องกับการแทรกแซงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติภายหลังทำรัฐประหารในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2557 ประกอบกับใช้วิธีการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องและผู้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่นและการกระจายอำนาจในประเทศไทย เพื่อที่จะได้นำมาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ออกกฎหมาย คำสั่ง และ ประกาศ ตลอดจนตรารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มีผลเป็นการแทรกแซงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลายรูปแบบตามแนวคิดการแทรกแซงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่งผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทยไม่สามารถดำเนินกิจกรรมตามแนวคิดการกระจายอำนาจและหลักการปกครองส่วนท้องถิ่นได้ นำมาซึ่งผลกระทบต่อการกระจายอำนาจในประเทศไทยที่ไม่อาจดำเนินไปตามกลไกปกติ เป็นเหตุให้การปกครองส่วนท้องถิ่นและการกระจายอำนาจในประเทศไทยไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามเจตนารมณ์และเสื่อมถอยในที่สุด</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purposes of this study were aimed to 1) to study the pattern of intervention of the Local Administrative Organization after Thailand’s coup d’état 2014 and 2) to study the effect toward the decentralization in Thailand.&nbsp; The study was collected with the qualitative research method, by studying and analyzing the documents, laws, directives, research reports, academic articles, books, publications and online documents which involved with the content about the Local Administrative Organization’s intervention after the Thailand’s coup d’état 2014 by the National Council for Peace and Order (NCPO). Furthermore, the researcher had explored for further information from the in-depth interview with the relevant personnel and the persons who have knowledge and understand the Local Administrative Organization and decentralization in Thailand in order to analyze the descriptive information. The result shown that the National Council for Peace and Order (NCPO) had declared the directives, declaration and conducted the Constitution of the kingdom of Thailand (B.E. 2560 (2017)). After the declaration, the Local Administrative Organization in Thailand could not run the activities according to the concept of decentralization and local government principles which result in the effect on the decentralization in Thailand that could not proceed the organization’s mechanism normally. Thus, the Local Administrative Organization and the decentralization in Thailand could not achieve the purpose of the intention and degenerate eventually.</p> 2019-11-28T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/202085 ผลกระทบจากการก่อสร้างทางรถไฟทางคู่ที่มีผลต่อชุมชนริมทางรถไฟ : กรณีศึกษาชุมชนเทพารักษ์ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (The impact of the construction of a double-track railway that affects the communities located by the railway:a case study of Thepharak Community, Mueang District,Khon Kaen Province) 2019-11-28T10:21:47+07:00 จุฬารัตน์ ศิริสิงห์ (Chularat Sirisingh) Sirisingh.C@gmail.com ศิวัช ศรีโภคางกุล (Siwach Sripokangkul) siwasri@kku.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสถานการณ์ความเป็นอยู่และวิถีชีวิตชุมชนริมทางรถไฟก่อนการก่อสร้างทางรถไฟทางคู่ 2) ศึกษาผลกระทบจากการก่อสร้างทางรถไฟทางคู่ที่มีต่อชุมชนริมทางรถไฟ&nbsp; 3)เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขผลกระทบและความต้องการของชาวชุมชนริมทางรถไฟ กรณีศึกษาชุมชนเทพารักษ์ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 30 คน โดยใช้ 4 วิธีการดำเนินงาน ได้แก่ วิธีศึกษาจากเอกสาร วิธีการสนทนากลุ่ม วิธีการสัมภาษณ์ เชิงลึก และวิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า สถานการณ์ก่อนการก่อสร้างทางรถไฟทางคู่ ประชากรในชุมชนเทพารักษ์บุกรุกโดยอาศัยอยู่บนที่ดินของการรถไฟแห่งประเทศไทยทั้งไม่มีสัญญาเช่าและมีสัญญาเช่า ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป ภายหลังจากการก่อสร้างทางรถไฟทางคู่ ช่วงชุมทางจิระ – ขอนแก่น ได้ส่งผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบโดยตรงต่อชุมชน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านสังคม การรถไฟแห่งประเทศไทยเวนคืนพื้นที่บริเวณริมรางรถไฟ 40 เมตรแรก เป็นเหตุประชากรที่อาศัยอยู่ในระยะ 20 เมตรแรกต้องรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างโดยได้รับเงินชดเชยจากรัฐ&nbsp; ด้านเศรษฐกิจและรายได้ เมื่อสภาพความเป็นอยู่ของชุมชนเปลี่ยนแปลงไปเพราะเหตุไร้ที่อยู่อาศัยส่งผลกระทบให้เกิดการว่างงาน รวมทั้งภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ชุมชนเทพารักษ์ได้รับผลกระทบจากมลภาวะทางอากาศจากฝุ่นละออง มลภาวะทางเสียงจากก่อสร้าง รวมทั้งแรงสั่นสะเทือนจากการขุดเจาะ และจากต้องการของคนในชุมชน พบว่า ต้องการให้รัฐบาลจัดหาพื้นที่อยู่อาศัยให้ใกล้เคียงกับพื้นที่เดิม ให้รัฐบาลให้ความสนับสนุนเพิ่มอัตราการจ้างทำงาน พร้อมกับต้องการให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำหนดมาตรการแก้ปัญหาจากกิจกรรมอันเกิดจากการก่อสร้าง รวมทั้งค่าชดเชยต่อชุมชนที่ได้รับผลกระทบในอัตราที่เหมาะสม</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purposes of this research were 1) to study the situation of living and way of life in the railway community before the construction of the double-track&nbsp; railway; 2) to study the effects of the construction of a double-track railway on the railway community; and 3) to propose the guidelines for solving the impacts and needs of people in the railway community, a case study of Thepharak Community, Mueang District, Khon Kaen Province. This research used the qualitative research methodology. The data was collected from 30 key informants by using 4 methods consisted of documents, group discussion methods, in-depth interview methods, and participatory observation methods.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The result of the research showed that for the situation before the construction of the dual-track railway, the population who lived in the Thepharak community has invaded, which they lived on the land of the State Railway of Thailand, without a lease and a lease.&nbsp; Their career is general employees. After the construction of the double-track railway, the Jira-Khon Kaen junction, it directly and negatively affected the 4 communities. In the term of the society, the State Railway of Thailand returned to the area of ​​the first 40 meters of the railway track. It is the reason that the people who live in the first 20 meters must demolish the buildings in which they receive compensation from the state.&nbsp; In terms of economy and income, when the living conditions of the community change due to homelessness, its impact is the unemployment of people, including additional expenses. In the term of health and environment, Thepharak community is affected by air pollution from dust and noise pollution from construction, including vibration from drilling. In terms of the needs of people in the community, it was found that they want the government to provide a living space for them that are near to the old area. They want the government to support and increase employment rates.&nbsp; They want the government and relevant agencies to set up measures to solve the problems from the construction activities. Besides, they need compensation for the affected communities at a reasonable rate.&nbsp;</p> 2019-11-28T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/203486 The Needs of Information Communication and Technological Management in a Private School's Transformation into a Digital School 2019-12-03T16:28:15+07:00 Supattraporn Upapong pazz@outlook.co.th Nawanit Songkram noawanit_s@hotmail.com Chaiyong Brahmawong cbrahmawong@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;In this study proposed priority needs of school information communication and technological management in private primary schools to become a digital school. The data were collected from 123 private school principals (n=123) and 123 teachers (n=123) using questionnaires. The statistics; frequencies, percentage, mean and SD were used to analyze the data. The result showed that the needs for transforming to a digital school in which it were divided in 4 dimensions 1.) Student's dimension; the teacher uses technology to address the student’s individual problems and to present additional information and resources for them to review the lesson. 2.) People's dimension; professional development is needed to improve teacher’s technological knowledges and skills in order to utilizing technology into his/her classroom regularly. 3.) Operational Process dimension; the teacher takes advantages of open-online resources to enhance their instruction. 4.) Educational Organization Model dimension; the teacher takes distance learning and utilize it into their classrooms.&nbsp; Based on the results of the study, that was presented to orient the Thai educational policy makers and school leaders to identify the transforming visions for their organization. And this also was presented to the other countries that have a similar context in order to be prepared schools especially in rural areas in transforming them into digital schools.&nbsp;</p> 2019-12-03T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/152025 การพัฒนาวิดีโอปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ใช้อินโฟกราฟิกสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (Development of Online Interactive Video with Infographics Online for Undergraduate Students School of Economics, Sukhothai Thammathirat Open University.) 2019-12-04T09:23:11+07:00 สุชาติ แสนพิช (Suchart Saenpich) suchart.sae@stou.ac.th พัฒนา ศิริกุลพิพัฒน์ (Pattana Sirikulpipat) pattana.sir@stou.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การพัฒนาวิดีโอปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ใช้อินโฟกราฟิกสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาวิดีโอปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ใช้อินโฟกราฟิกชุดวิชา เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ 2) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและคะแนนหลังเรียนของนักศึกษาที่ศึกษาด้วยวิดีโอปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ใช้อินโฟกราฟิก ชุดวิชา เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อวิดีโอปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ใช้อินโฟกราฟิก กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน ชุดวิชา เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ ปีการศึกษา 2560 จำนวน 30 คน ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) สื่อวิดีโอปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ออนไลน์ที่ใช้อินโฟกราฟิก 2) แบบประเมินคุณภาพของสื่อวิดีโอปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ใช้อินโฟกราฟิก 3) แบบประเมินค่าดัชนีความสอดคล้อง&nbsp; (IOC) ระหว่างวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมกับข้อคำถาม 4) แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน ชุดวิชา เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสื่อวิดีโอปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ใช้อินโฟกราฟิก สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired-Sample T-Test</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) ประเมินคุณภาพวิดีโอปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ใช้อินโฟกราฟิกที่พัฒนาขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญ คุณภาพโดยภาพรวม มีคุณภาพมาก (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> =4.18) 2) ประสิทธิภาพของวิดีโอปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ใช้อินโฟกราฟิกบนเว็บ มีประสิทธิภาพที่ 82.33/87.88 3) คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังดูวิดีโอปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ใช้อินโฟกราฟิกบนเว็บ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 4) หลังจากที่ได้เรียนผ่านวิดีโอปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ใช้อินโฟกราฟิกบนเว็บ นักศึกษากลุ่มทดลองมีความพึงพอใจในระดับมาก (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> =4.22)</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purpose of this research were to: 1) Develop of video interactive infographics online for microeconomic and macroeconomic analysis course, 2) To compare the academic achievement of student learning with video interactive infographics online and 3) to study student satisfaction in learning with video interactive infographics online for microeconomic and macroeconomic analysis course. Samples were 30 students who enrolled in microeconomic and macroeconomic analysis course in academic year 2017 using purposive sampling method. Research instruments were: 1) video interactive infographics online. 2) Form of video interactive infographics online quality assessment for experts. 3) Form of IOC (index of item objective congruence) assessment between behavioral objectives&nbsp; and test for experts. &nbsp;4) Pre-Test and Post-Test of microeconomic and macroeconomic analysis course. 5) The questionnaire for asking students satisfaction learning with video interactive infographics online. The data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation and Paired-Sample T-Test.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The result of this research found that: 1) The quality of video interactive infographics online was good ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">=4.18), 2) The efficiency of video interactive infographics online was found 82.33/87.88, 3) The academic achievement were found that the score of post-test higher than pre-test at the significant level .01, and 4) The level of students’ satisfaction found at high level ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"><strong>=&nbsp;</strong><strong>4.22).</strong><strong>&nbsp;</strong></p> 2019-12-04T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/187381 แนวทางการจัดการและการใช้ประโยชน์พื้นที่ชุ่มน้ำสามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์ เพื่อการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน (Guidelines for Management and Utilization of Sam Roi Yod Wetland Prachuab Khiri Khan Province for Sustainability and Conservation.) 2019-12-06T10:34:02+07:00 กฤตยา นิยมเดชา (Krittaya Niyomdecha) 2017krittaya@gmail.com รุจิโรจน์ อนามบุตร (Rujiroj Anambutr) rujianam@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;พื้นที่ชุ่มน้ำสามร้อยยอด ตั้งอยู่ในอำเภอสามร้อยยอดและอำเภอกุยบุรีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติจนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำตาม อนุสัญญาแรมซาร์ ทั้งนี้ในแง่นิเวศวิทยานั้นยังมีบทบาทสำคัญต่อพืชและสัตว์นานาชานิดเนื่องจากเป็นทั้งที่อยู่อาศัย เป็นแหล่งหลบภัย แหล่งขยายพันธุ์และแหล่งอาหาร ทั้งสายพันธุ์ท้องถิ่นที่อยู่อาศัยในบริเวณนั้นและสัตว์ที่อพยพมาหลบภัยหนาว ซึ่งหากสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมจะส่งผลโดยตรงต่อสัตว์ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ชุ่มน้ำสามร้อยยอดและความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ นอกจากนี้แล้วการคุกคามยังส่งผลให้ความอุดมสมบูรณ์ในพื้นที่ธรรมชาติลดน้อยลงซึ่งมีผลในทางอ้อมต่อมนุษยชาติ นั่นคือพื้นที่เพื่อการศึกษาวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพลดน้อยลง และนอกจากนี้พื้นที่แห่งนี้ยังมีความสำคัญต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ต่อชุมชนที่อาศัยโดยรอบ เนื่องจากเป็นแหล่งทรัพยากรสำคัญขนาดใหญ่สำหรับอุปโภค บริโภค รวมถึงเป็นแหล่งทำกิน ซึ่งความเสื่อมโทรมของพื้นที่ชุ่มน้ำสามร้อยยอดมีสาเหตุจากหลายประการทั้งที่เกิดจากทางธรรมชาติและจากมนุษย์ การหาแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาและฟื้นฟูจำเป็นต้องเป็นกระบวนการที่ยั่งยืน เพื่อให้พื้นที่ชุ่มน้ำได้รับการดูแลที่ดีอย่างต่อเนื่อง เพื่อความอุดมสมบูรณ์ของระบบชีวภาพในพื้นที่ชุ่มน้ำสามร้อยยอดที่เอื้ออำนวยแก่สายพันธุ์ที่พึ่งพาอาศัยในพื้นที่แห่งนี้ให้สามารถดำรงชีพต่อไปได้</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Sam Roi Yod wetland is located in Sam Roi Yod and Kui Buri District in Prachuab Khiri Khan Province which was designated as Ramsar site for international acceptance. In concerning with the ecology approach which influence to plant and all living creature because of there are habitat , refuge , reproducing place and food source for native spicies and migratory spicies from north. If the quality of wetland is decline it should being the negative effect on all living creature in this place. Moreover threatening have an effect on plentifully wetland and area for study biology are decrease. Beside main wetland is importance to the community life and living around because this place is the main resource for consuming include their career. The cause of decline wetland have several reasons which effect to human and&nbsp; natural environment. Searching the way to resolve and restore are need to conduct sustainability way in order to continue management for plentifully of biology in Sam Roi Yod wetland supports creatures can live along.</p> 2019-12-06T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/205807 ผลการใช้ชุดกิจกรรมภาษาอังกฤษเสริมหลักสูตรนอกชั้นเรียนเรื่องวันหยุดนักขัตฤกษ์และเทศกาลสำคัญสำหรับใช้ในมุมภาษาอังกฤษที่มีต่อความสามารถในการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ ความเข้าใจในวัฒนธรรม ทักษะสังคมและทัศนคติต่อ ภาษาอังกฤษของนักเรียนประถมศึกษา (Effect of an English Extra Curriculum Package Focusing on Holidays and Festivals for Use in English Corner on English Communicative Abilities, Cultural Understanding, Social Skills, and English Language Attitudes of Elementary School Students) 2019-12-06T10:42:10+07:00 กัญญาพัฒน์ มามาตร (Kanyaphat Mamart) beemaple@gmail.com บำรุง โตรัตน์ (Bamrung Torut) bamrung007@gmail.com เสงี่ยม โตรัตน์ (Sangiam Torut) sangiam007@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมภาษาอังกฤษเสริมหลักสูตรนอกชั้นเรียนด้านต่างๆ ทั้งภูมิหลังทางภาษาของผู้เรียนด้านทักษะการฟัง-พูด ความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนด้านวัฒนธรรมเจ้าของภาษาเกี่ยวกับวันหยุดนักขัตฤกษ์และเทศกาลสำคัญ และองค์ประกอบทั่วไปที่ส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษนอกชั้นเรียน 2) พัฒนาชุดกิจกรรมให้มีประสิทธิภาพตามเกณณ์ 75/75 และ 3) ประเมินประสิทธิผลการใช้ชุดกิจกรรมฯที่มีต่อความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษด้านการฟัง-พูด ความเข้าใจในวัฒนธรรมเกี่ยวกับวันหยุดนักขัตฤกษ์และเทศกาลสำคัญ ทักษะสังคม เจตคติที่มีต่อภาษาอังกฤษก่อนและหลังใช้ชุดกิจกรรม รวมถึงศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมฯกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านท่ามะกา จำนวน 30 คนซึ่งได้มาด้วยความสมัครใจ ซึ่งเครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามความต้องการจำเป็น 2) ชุดกิจกรรมภาษาอังกฤษเสริมหลักสูตรนอกชั้นเรียนเรื่องวันหยุดนักขัตฤกษ์และเทศกาลสำคัญสำหรับใช้ในมุมภาษาอังกฤษ 3)แบบทดสอบวัดความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ 4)แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมเจ้าของภาษาเกี่ยวกับวันหยุดและเทศกาลสำคัญ 5) แบบประเมินทักษะสังคม 6)แบบวัดเจตคติต่อภาษาอังกฤษ และ7)แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรม ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ การทดสอบสถิติค่า t-test แบบ Paired-Samples t-test และ One-Sample t-test รวมถึงขนาดของผล (Effect size)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษด้านการฟัง-พูดอยู่ในระดับต้น ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่ยังคงต้องการการพัฒนาทักษะย่อยการฟัง-พูดภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น รวมถึงควรเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมเจ้าของภาษาเกี่ยวกับวันหยุดนักขัตฤกษ์และเทศกาลสำคัญ โดยในการดำเนินการจัดกิจกรรมควรมีสื่อการเรียนรู้ในลักษณะของสื่อผสมเพิ่มเติม และดำเนินการจัดกิจกรรมสัปดาห์ละ 2-3 ชั่วโมงนอกเวลาเรียนในห้องปฏิบัติการทางภาษาหรือลานอเนกประสงค์</li> <li class="show">ชุดกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ50/80.17 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 75/75</li> <li class="show">ประสิทธิผลการใช้ชุดกิจกรรมฯ มีดังนี้1) คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษด้านการฟัง-พูด คะแนนเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมเจ้าของภาษาเรื่องวันหยุดนักขัตฤกษ์และเทศกาลสำคัญ และคะแนนเฉลี่ยทักษะสังคมของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างหลังได้รับการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีผลขนาดใหญ่มาก (d=6.31, 7.70 และ 1.76 ตามลำดับ) ดังนั้น ลำดับที่ของคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษด้านการฟัง-พูด(P<sub>97.7</sub>) คะแนนเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรมเจ้าของภาษาเรื่องวันหยุดนักขัตฤกษ์และเทศกาลสำคัญ(P<sub>97.7</sub>) และคะแนนเฉลี่ยทักษะสังคม (P<sub>95.5</sub>) ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมสูงกว่าลำดับที่ของคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนด้วยชุดกิจกรรมเท่ากับ 47.7, 47.7 และ 45.5 ลำดับที่ ตามลำดับ 3.2) คะแนนเฉลี่ยเจตคติต่อภาษาอังกฤษก่อนเรียนด้วยชุดกิจกรรมและหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีขนาดของผลมาก (d=0.82) อยู่ที่ลำดับที่ 79 (P<sub>79</sub>) ดังนั้น ลำดับที่ของเจตคติที่มีต่อภาษาอังกฤษของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมสูงกว่าลำดับที่ของเจตคติที่มีต่อภาษาอังกฤษก่อนเรียนด้วยชุดกิจกรรมเท่ากับ 29 ลำดับที่ 3.3) คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการวิเคราะห์ขนาดของผลมีค่าเท่ากับ 1.46 ซึ่งอยู่ที่ลำดับที่ 91.9 (P<sub>91.9</sub>) ดังนั้น ลำดับที่ของมีความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมเท่ากับ 41.9 ลำดับที่</li> </ol> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This study was designed and carried out using research and development methods. The objectives of the study were 1) to explore and analyze basic information about English extra curriculum for use in English corner including students’ listening and speaking background, cultural understanding about holidays and festivals and other factors promoting learning English out-of-class, 2) to develop English extra curriculum package focusing on holidays and festivals for use in English corner and study the efficiency of the package to meet the criteria of E1/E2 = 75/75, which compared the average percentage of formative evaluation with summative evaluation, and 3) to investigate the effectiveness of English extra curriculum package focusing on holidays and festivals for use in English corner on English communicative abilities, cultural understanding, social skills, English language attitude of elementary students both before and after learning with the package including student’s satisfaction on the package.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The sample was 30 elementary school students (grade 4-6) at Banthamaka School which joined the English club in the academic year 2018 by volunteering. Data were collected and analyzed by mean, standard deviation, Paired- Sample t-test, One-Sample t-test, and effect size.</p> <p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>The findings were as follows;</p> <ol> <li class="show">Students’ communicative abilities focusing on listening and speaking skills were at the basic level, they still needed to be developed their listening and speaking subskills including provided cultural understanding about holidays and festivals by using multimedia as learning materials and setting 2-3 hours a week after learning hours in English sound lab room or assembly hall.</li> <li class="show">The developed English extra curriculum package focusing on holidays and festivals for use in English corner reached the efficiency by comparing the average percentage of formative evaluation (E1=79.50) with summative evaluation (E2=80.17) which was higher than the established requirement of 75/75</li> <li class="show">After implementation of English extra curriculum package focusing on holidays and festivals for use in English corner, the findings were revealed as follows; 3.1) The average scores of English communicative abilities on listening and speaking skills, average scores of cultural understanding about holidays and festivals, and the average scores of social skills of sample in posttest were significantly higher than pretest scores at the 0.05 level and their effect sizes were very large (d=6.31, 7.70 and 1.76 respectively). Therefore, the percentile rank of average scores of English communicative abilities on listening and speaking skills (P<sub>97.7</sub>), average scores of cultural understanding about holidays and festivals (P<sub>97.7</sub>), and the average scores of social skills (P<sub>95.5</sub>) of sample after learning with the package were higher than sample’s average scores before learning with the package equaled 47.7th, 47.7th and 45.5th percentile rank, respectively. 3.2) The average scores of English language attitude before and after learning with the package was significantly different at the 0.05 level and its effect size was large d=0.82) Therefore, the percentile rank of average scores of English language attitude (P<sub>79</sub>) after learning with the package was higher than sample’s average scores before learning with the package equaled 29th percentile rank. 3.3) The average scores of students’ satisfaction toward the package after learning with the package was significantly different at the 0.05 level and its effect size was very large (d=1.46) Therefore, the percentile rank of average scores of students’ satisfaction toward the package (P<sub>91.9</sub>) after learning with the package equaled 41.9th percentile rank.</li> </ol> 2019-12-06T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/207060 การศึกษาแนวโน้มความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ กรณีศึกษาความเปลี่ยนแปลงในการปฏิบัติที่อาจเกิดขึ้นงานของเจ้าหน้าที่ในส่วนงานปราบปราม ตามร่างพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2559 (The Study of the Likelihood of Success in Policy Implementation: Case Study of Potential Changes in Practices of Suppression Officers under The Narcotics Act, B.E. 2562 (2019)) 2019-12-06T10:47:47+07:00 โกสินทร์ เตชะนิยม (Kosin Techaniyom) kosincoke@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.&nbsp;&nbsp;&nbsp; เพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงของพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษที่ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ส่วนงานปราบปรามยาเสพติด 2. เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ที่จะประสบความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติจากความเปลี่ยนแปลงของพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษของเจ้าหน้าที่ส่วนงานปราบปรามยาและ 3. เพื่อสร้างข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่ได้จากผลการวิจัย โดยการใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิจัยเอกสารและการสนทนากลุ่มเจ้าหน้าที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานปราบปราม 3 ครั้ง จำนวนทั้งสิ้น 35 คน ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ผู้บริหารกลาง ระดับต้น และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ ประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดส่วนงานปราบปรามและงานแผน เจ้าหน้าที่ปกครอง เจ้าหน้าที่กรมศุลกากร ทหาร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่น</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ผลการวิเคราะห์ส่วนที่หนึ่งพบว่า การเปลี่ยนแปลงข้อกฎหมายทำให้สายงานปราบปรามได้รับผลกระทบด้วยกัน 4 ลักษณะคือ 1. วิธีปฏิบัติหรือกระบวนงานที่เปลี่ยนไปจากเดิมเนื่องจากตัวบทที่เปลี่ยนแปลง 2. ความเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างความสัมพันธ์ของอำนาจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.ผลกระทบจากการจัดสรรทรัพยากรใหม่ 4. การหาช่องทางกระทำผิดตามช่องว่างของกฎหมายใหม่</p> <p>ผลการวิเคราะห์ในส่วนที่สองเป็นการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการนำนโยบายไปปฏิบัติด้วยทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติด้วยมุมมองแบบล่างขึ้นบนพบว่า 1. ผู้ปฏิบัติน่าจะสามารถทำให้เกิดผลการนำไปปฏิบัติได้จริงเนื่องจากมีความเปลี่ยนแปลงแนวทางการปฏิบัติเดิมที่น้อย และมุมมองแบบบนลงล่างพบว่า 2.นโยบายมีความเป็นไปได้ที่จะนำไปปฏิบัติเนื่องจาก มีการยอมรับเป้าหมายนโยบายสูงและความเปลี่ยนแปลงในการปฏิบัติต่ำ อย่างไรก็ตามจากการวิเคราะห์พบข้อจำกัดบางประการนำไปสู่ข้อเสนอเชิงนโยบายคือ 1.การสร้างแนวทางเพื่อทำความเข้าใจร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสายงานปราบปรามยาเสพติดถึงรูปแบบการปฏิบัติที่จะเปลี่ยนไปอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย 2.การสร้างแนวทางระดับปฎิบัติที่ยืดหยุ่นขึ้นตามข้อกฏหมายที่เปลี่ยนแปลง</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; This research aimed to 1) study the amendment to the Narcotics Act which affected the performance of narcotics control officers, 2) study the possibility of policy implementation achievement of narcotics control officers as a result of the amendment to the Narcotics Act, and 3) make policy recommendations based on research findings. This study was qualitative study, which consisted of documentary research and group discussions. Three group discussions were carried out with 35 narcotics control officers – middle and top management and operational officers, who were police officers, officers from the Office of the Narcotics Control Board (Suppression and Planning Division), administrative officers, customs officers, military officers, and other stakeholders.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The first part of the analysis revealed that the legal amendment exposed the suppression function to four things: Change in work practices or processes, change in the structure of the power relations with relevant authorities, impact of new resource allocation, and people’s seeking channels to commit offences through loopholes of the amended law.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The second part of the analysis dealt with the study of the possibility of policy implementation. Based on the bottom-up approach, the analysis suggested that operational officers should be able to achieve practical results due to slight change in practices. On the other hand, the analysis using the top-down approach showed possibility of policy implementation. However, some limitations were identified, which led to the policy recommendations – the formulation of the guidelines for establishing a mutual understanding about change in practices as a result of legal amendment among agencies involved in narcotics control and the formulation of operational guidelines that are more flexible in line with amended law.</p> 2019-12-06T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/202474 สภาพ ปัญหาและปัจจัยการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาขององค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่น (States, Problems and Factors in Vocational Education Management of Local Administrative Organizations) 2019-12-06T10:56:44+07:00 ขนิษฐา พงษ์สุชาติ (Kanittha Pongsuchart) jewkanittha@gmail.com อนุชัย รามวรังกูร (Anuchai Ramwarungkura) feduacrk@ku.ac.th วรรณดี สุทธินรากร (Wandee Sutthinarakorn) feduwdsu@nontri.ku.ac.th นลินรัตน์ รักกุศล (Nalinrat Rakkusol) fedunrr@ku.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหาและปัจจัยการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การดำเนินงานวิจัยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 ศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพ ปัญหาการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างจำนวน 617 คน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอนและผู้เรียนของสถานศึกษาด้านอาชีวศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 11 แห่ง&nbsp; ผู้บริหารของสถานประกอบการ และผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของสภาพและปัญหาการจัดการสถานศึกษาด้านอาชีวศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และความแปรปรวนแบบทางเดียว&nbsp; ระยะที่ 2 ศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบปัจจัยการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น&nbsp; กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 301 คน คือ ผู้บริหารและครูผู้สอนของสถานศึกษาด้านอาชีวศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 11 แห่ง ผู้บริหารของ&nbsp; สถานประกอบการ และผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของปัจจัยการจัดการสถานศึกษาด้านอาชีวศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบ Factor Analysis&nbsp; และ KMO and Bartlett's Test</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า สภาพการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ค่าเฉลี่ยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.98&nbsp; ปัญหาการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น &nbsp;ค่าเฉลี่ยในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.03 และปัจจัยการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น &nbsp;ค่าเฉลี่ยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.89 ส่วนผลการวิเคราะห์องค์ประกอบปัจจัยการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพบว่า ค่า KMO เท่ากับ 0.914 ซึ่งมีค่ามากกว่า 0.050 และเข้าใกล้ 1 ผลการวิเคราะห์ค่าน้ำหนักองค์ประกอบ(Loading) ของ Factor Analysis&nbsp; มี 6 องค์ประกอบ 31 ตัวแปรสังเกตได้ มีค่าตั้งแต่ 0.393 ถึง 0.850 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 เมื่อจัดเรียงค่าน้ำหนักองค์ประกอบพบว่า องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีตัวแปรสังเกตได้มีน้ำหนักความสำคัญมากที่สุด ในขณะที่ค่าน้ำหนักองค์ประกอบด้านการบริหารจัดการครูผู้สอน ผู้เรียนและสถานประกอบการที่มีตัวแปรสังเกตได้มีน้ำหนักความสำคัญน้อยที่สุด</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The objectives of this research were to studied states, problems and factors in vocational education management of the Local Administrative Organizations (LAOs). This research was divided into two phases. The first phase is to studied the states of problems in vocational education management of the LAOs. Data from 617 samples were collected, consisting of school administrators, teachers, students from 11 vocational schools under the LAOs, entrepreneur and the administrators of the LAOs. The questionnaire about the opinions of the state and problems of the management of vocational schools of the LAOs were collected. Then, statistical analysis was analyzed using average, standard deviation and one-way variance analysis. On Phase 2, the research was focused on factors of vocational education management of the LAOs. Data from 301 samples were collected, consisting of administrators and teachers of 11 vocational schools under the LAOs, enterpreneau and the administrators of the local government organization The questionnaire about the opinions on institution management factors of the LAOs The statistics used in the analysis are the mean, standard deviation. Factor Analysis and KMO and Bartlett's Test</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The results have shown that overall average value of the state of educational management in vocational education of the LAOs was high. The average of 3.98 vocational education management problems of local government organizations. The overall average was at the medium level, the 3.03 average, and the factors of vocational education management of the local government organization. The overall average is at a high level. The average value is 3.89. As for the analysis of the components of the vocational education management factors of the local administrative organization, the KMO was 0.914 which Is greater than 0.050 and is close to 1 The results of Factor Analysis's loading are 6 elements with 31 variables which can be observed from 0.393 to 0.850 at the statistical significance level 0.05. When sorting the component weight values, it was found that The curriculum management elements with observable variables have the most importance. While the weight of teacher management components Students and establishments with observable variables had the least importance</p> 2019-12-06T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/186006 การพัฒนาสมรรถนะการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน:การสังเคราะห์งานวิจัยอย่างเป็นระบบ (The development of health volunteers’ competencies in non-communicable diseases screening: A systematic review) 2019-12-06T11:22:00+07:00 จันทร์จิรา อินจีน (Janjira Iinjeen) jjanbok.d@hotmail.com วิภาพร สิทธิสาตร์ (Vipaporn Sittisart) sittisart@hotmail.com จันทิมา นวะมะวัฒน์ (Juntima Nawamawat) juckjick@hotmail.com ปริญดา ศรีธราพิพัฒน์ (Parinda Sritarapipat) parinda@hotmail.com <p>The Purpose of this systematic review was to summarize model of non-communicable disease screening competencies of village health volunteers. The published and unpublished research both in Thai and English from electronic databases, including ThaiJo, ThaiList, CINAHL, and&nbsp; Digital Research Information Center from 2007 to 2016, were included. There were 7 papers met the criteria, including: 5 published papers (71.43%) and&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2 unpublished papers (28.57%). When evaluating the reliability level with the criteria of Stetler,it can be found that 6 papers were at level 3 and 1 paper was at level 4. The review found three methods to develop competencies of screening of non-communicable diseases of village health volunteer: 1) Educating by lecture, demonstration, and return demonstration, 2). Improving attitudes, thoughts and feelings by telling experiences and reflection, and 3) Practice skills from real practices. These three methods could gain knowledge, increase motivation abilities, and improve skills in screening for diabetes and high blood pressure higher with statistical significance. The results of the study show that public health personnel are able to apply these development guidelines to develop the ability to screen chronic non-communicable diseases of village health volunteers, and executives health team personnel should support and promote the development of non-communicable disease screening competencies of chronic diseases to ensure the operation of village health volunteers be more effective and efficient.</p> 2019-12-06T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/194965 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเจริญก้าวหน้าในอาชีพของผู้แทนยาบริษัทยาข้ามชาติ ในเขตกรุงเทพมหานคร (Factors Affecting Career Advancement for Medical Representative of Multinational Company in Bangkok Metropolitan) 2019-12-06T11:29:32+07:00 ดวงกมล วิเชียรสาร (Duangkamol Wichiensarn) goongduangkamol@gmail.com ธนินท์รัฐ รัตนพงศ์ภิญโญ (Taninrat Rattanapongpinyo) Taninrata@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยทางประชากรศาสตร์ ปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร และปัจจัยแวดล้อมภายนอกองค์กรกับความเจริญก้าวหน้าในอาชีพของผู้แทนยา บริษัทยาข้ามชาติในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยการสำรวจ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือผู้แทนยาของบริษัทยาข้ามชาติในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างพบว่า 1)ปัจจัยส่วนบุคคลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 31–35 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 90,000 บาท 2) ปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร ได้แก่ ลักษณะเนื้อหาของงาน ผลตอบแทน โอกาสในการเจริญก้าวหน้าในอาชีพ โอกาสในการเรียนรู้พัฒนาความสามารถ ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน สภาพแวดล้อมในที่ทำงานมีความสำคัญในระดับมาก 3 ) ปัจจัยแวดล้อมภายนอกองค์กร ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี นโยบายและการเมือง มีความสำคัญในระดับมาก 4) การพัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพ ได้แก่ ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ ความก้าวหน้าในเงินเดือน ความก้าวหน้าในการพัฒนาตนเอง มีความสำคัญในระดับมาก</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า 1) ปัจจัยทางประชากรศาสตร์ด้านเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อความเจริญก้าวหน้าในอาชีพผู้แทนยา บริษัทยาข้ามชาติในเขตกรุงเทพมหานคร ไม่แตกต่างกัน 2) ปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กรมีความสัมพันธ์ต่อความเจริญก้าวหน้าในอาชีพของผู้แทนยา บริษัทยาข้ามชาติในเขตกรุงเทพมหานคร และ 3) ปัจจัยแวดล้อมภายนอกองค์กรมีความสัมพันธ์ต่อความเจริญก้าวหน้าในอาชีพของผู้แทนยา บริษัทยาข้ามชาติในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The objectives of this research were to study the relationship of factors between personal factors, internal environmental factors and external environmental factors that affect to career advancement for medical representative of multinational company in Bangkok metropolitan.This research is conducted as a quantitative survey research, questionnaires were used as a tool to collect data. Samples are representatives from medical representative of multinational company in Bangkok, a total of 400 respondents. The analysis statistics used in the study were frequency, percentage, mean, standard deviation and coefficient of Pearson.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Results shows the followings: (1) Personal factors of gender, age, status and education level did not affect to career advancement for medical representative of multinational company in Bangkok metropolitan but average monthly income affect to career advancement for medical representative of multinational company in Bangkok metropolitan (2) Internal and external environmental factors had related to career advancement for medical representative of multinational company in Bangkok metropolitan with a statistical significant at 0.05 level.</p> 2019-12-06T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/176438 An Application of Super Efficiency DEA for Comparative Analysis and Ranking of Regions in the United Kingdom 2019-12-06T13:23:41+07:00 Papangkorn Kongmanwatana p.kongmanwatana@gmail.com Julanee Raknetsakhon julanee_r@hotmail.com Rattanapong Kongcharoen p.charoenkad@vatel.co.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This study compares and measures the efficiency across the United Kingdom regions as tourism destination, by Data Envelopment Analysis (DEA), a super-efficiency methodology that is based on combining the stochastic frontier. The analysis will present a rank of 21 tourism destination regions in the United Kingdom.&nbsp; Due to the increasing interest in tourism destination competitiveness, there is a need to improve and develop the destinations’ standard. This DEA empirical result will show various advantages of each destination. The conclusion of this paper will identify the benefit of DEA super-efficiency as the tool to develop the tourist destinations.</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> 2019-12-06T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/203851 สุขภาวะพระสงฆ์: การพัฒนารูปแบบสุขภาวะตามแนววิถีพุทธโดยการบูรณาการสาธารณสุขเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของจังหวัดลำปาง (Buddhist Monk’s Well-being: A Development of Well-being Promotion Model on Buddhist Way By Community Public Health Integration for Good Life Quality in Lampang province) 2019-12-07T16:07:34+07:00 ชลธิชา จิรภัคพงค์ (Chonticha Jirapakpong) kong_chacha@yahoo.co.th ฉวีวรรณ สุวรรณาภา (Chaweewan Suwannapa) kong_chacha@yahoo.co.th ปุญยวีร์ มงคลพิพัฒน์พร (Punyavee Mongkongpipatphon) kong_chacha@yahoo.co.th พัฒน์นรี อัฐวงศ์ (Patnaree Attawong) kong_chacha@yahoo.co.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาของการเสริมสร้างสุขภาวะของพระสงฆ์ รูปแบบการเสริมสร้างสุขภาวะของพระสงฆ์ และเพื่อเสนอการพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสุขภาวะของพระสงฆ์ตามแนววิถีพุทธในการบูรณาการสาธารณสุขชุมชนเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของจังหวัดลำปาง ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ รองเจ้าคณะอำเภอเมืองลำปาง พระสงฆ์ ประธานชุมชน จำนวน 8 รูป/คน ผู้ให้ข้อมูลในการสนทนากลุ่มย่อย ได้แก่ พระสงฆ์ ตัวแทนชุมชน ประธานชุมชน ผู้นำท้องถิ่น ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้การวิจัยเป็นแบบการสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่มย่อย ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาพิจารณาประเด็นหลักและแบ่งออกเป็นประเด็นย่อย</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัญหาของการเสริมสร้างสุขภาวะของพระสงฆ์ของจังหวัดลำปาง ได้แก่&nbsp; ด้านพฤติกรรมของพระสงฆ์ ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพของพระสงฆ์ ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยภายในวัด และด้านการมีส่วนร่วมและสนับสนุนของภาคี 2) รูปแบบการเสริมสร้างสุขภาวะของพระสงฆ์ตามแนววิถีพุทธในการบูรณาการสาธารณสุขชุมชนเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของจังหวัดลำปาง ได้แก่ กระบวนการดูแลสุขภาพของพระสงฆ์กับการบูรณาการกับระบบการสาธารณสุข บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการส่งเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ และกระบวนการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของพระสงฆ์ร่วมกับภาคี 3) เสนอการพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสุขภาวะของพระสงฆ์ตามแนววิถีพุทธในการบูรณาการสาธารณสุขชุมชนเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของจังหวัดลำปาง มีองค์ประกอบดังนี้ 1) หลักภาวนา 4&nbsp; 2) การดูแลสุขภาพตามระบบการสาธารณสุข ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน &nbsp;การรักษาพยาบาล การฟื้นฟู&nbsp; 3) กระบวนการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 4) สุขภาวะพระสงฆ์</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The objectives of this research to&nbsp; study. The problem of enhancing the health of monks. The pattern of enhancing the health of monks and to develop a model of enhancing the health of monks in the Buddhist way by community public health Integration for good life quality in Lampang province<strong>. </strong>Informants in in-depth interviews : Primate Muang District, Lampang, Monk, President of the Community to tally 8 people. The data for the focus group : Monks, community representatives, President of the Community, Director of the Health Promoting Hospital District, President of village health volunteers to tally 16 people. The research instrument was an interview and the focus group. Analyze the content from the main points and divide them into sub-topics.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research found that : 1) The problem of enhancing the health of monks in the Buddhist way by community Public Health Integration for Good Life Quality in Lampang province. Monk behavior problem as Nutritional problems, Physical problems, Mental problems. The problem of self-care of monks. Environmental issues and sanitation within the temple. Involvement issues and the support of the Parties. 2) The pattern of enhancing the health of monks in the Buddhist way by community public health Integration for good life quality in Lampang province. The health care process of monks is integrated with the public health system and the process of managing the health of monks together with the Parties. 3) Development model of enhancing the health of monks in the Buddhist way by community public health Integration for good life quality in Lampang province consists of 1) Bhavana 4 2) Health Care in the Public Health System consists of health promotion, prevention, treatment, rehabilitation. 3) The process of managing monks' health is participatory. 4) Buddhist Monk’s Well-being good.</p> <p>&nbsp;</p> 2019-12-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/207550 Using 4MAT Teaching Model to Enhance Students’ Achievement and to Maintain Retention in Mathematics 2019-12-07T16:15:30+07:00 Thanida Ruangtrakun Twenty_silpa@hotmail.com Supotch Chaiyasang supc5987@hotmail.com <p>The objectives of this classroom action research were to enhance students’ achievement and to maintain students’ retention in mathematics by using 4MAT teaching model. The participants were 30 grade 10 students who enrolled in the first semester of academic year 2017 at a secondary school in Bangkok, Thailand. The topic used in this study was elementary sets. To enhance students’ achievement and to maintain students’ retention, 7 lesson plans integrated 4MAT teaching model were developed. Teaching and learning lasted 14 periods with 50 minutes in each period. There were three cycles of action plan (plan, do, check, and reflect). Data were collected from summative test and teacher’s reflections. Summative test was used to measure students’ achievement. The results showed the students’ achievement was enhanced to the levels required by the researcher. That was at least 70% of students passed 70% total score. After 14 days, the summative test was also used again to measure students’ retention. The results from t-dependent test showed the students still maintained their retention.</p> 2019-12-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/196774 การวัดประสิทธิภาพการดำเนินงานกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) และกองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF) ในประเทศไทย โดยวิธี DATA ENVELOPMENT ANALYSIS (Measuring the performance efficiency of Retirement Mutual Funds and Long Term Equity Funds in Thailand using Data Envelopment Analysis.) 2019-12-07T16:25:02+07:00 ธนพล เมตตะธำรงค์ (Thanapon Mettathamrong) thaiseminarium@hotmail.com อติ ไทยานันท์ (Ati Thaiyanan) thaiseminarium@hotmail.com จักเรศ เมตตะธำรงค์ (Jakret Mettathamrong) thaiseminarium@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดประสิทธิภาพของกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) และกองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF) ด้วยวิธี Data envelopment analysis (DEA) ทำการศึกษาช่วง พ.ศ. 2558 - 2560 การวิเคราะห์ใช้แบบจำลอง BCC– O กำหนดตัวแปรด้านปัจจัยการผลิต (input) ได้แก่ ค่าธรรมเนียมการจัดการ (Management Fee - MF) ค่าธรรมเนียมผู้ดูแลผลประโยชน์ (Trustee Fee - TF) ค่าธรรมเนียมนายทะเบียน (Registrar Fee - RF) ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ (Professional fee - PF) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ (Operation Fee - OPF) และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (Others Fee - OF) ตัวแปรด้านผลผลิต (output) ได้แก่ รายได้จากดอกเบี้ย (Interest income - IN) รายได้จากเงินปันผล (Dividend income - DI) รายได้อื่น ๆ (Others income - OI) และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิ (Net asset value - NAV) ผลการศึกษาพบว่า คะแนนประสิทธิภาพปี พ.ศ. 2558 &nbsp;มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 0.8529 มีกองทุนที่มีประสิทธิภาพจำนวน 83 กองทุน คะแนนประสิทธิภาพ ปี พ.ศ. 2559 มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 0.8351 มีกองทุนที่มีประสิทธิภาพจำนวน 88 กองทุน และคะแนนประสิทธิภาพ ปี พ.ศ. 2560 &nbsp;มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 0.8603 มีกองทุนที่มีประสิทธิภาพจำนวน 90 กองทุน โดยทั้ง 3 ปี กองทุนรวมที่มีค่าคะแนนประสิทธิภาพจำนวนมากที่สุด คือ กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) กลุ่มประเภทนโยบายที่ลงทุนในตราสารหนี้</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;In this thesis, the researcher measures the efficiency of Retirement Mutual Funds (RMF) and Long Term Equity Funds (LTF) using the technique of data envelopment analysis (DEA). The study was conducted using the data from three years: 2015, 2016, and 2017. The output Banker, Charnes and Cooper (BCC-O) model was used in the analysis of data. The factor of production variables (input) were management fee (MF), trustee fee (TF), registrar fee (RF), professional fee (PF), operation fee (OPF), and others fee (OF). The output variables were interest income (IN), dividend fund (DI), others income (OI), and net asset value (NAV). Findings showed that the average efficiency score in 2015 was 0.8529 with 83 mutual funds exhibiting efficiency. The average efficiency score in 2016 was 0.8351 with 88 mutual funds exhibiting efficiency. The average efficiency score in 2017 was 0.8603 with 90 mutual fund exhibiting efficiency. During these three years, the mutual fund with the highest level of efficiency score was RMF with a debenture policy.</p> 2019-12-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/172801 รูปแบบการจัดกิจกรรมการรับน้องเชิงสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Styles of Creative Freshman Welcoming Activities Affecting Students’ Participation Intention at Faculty of Management Science, Silpakorn University) 2019-12-09T09:14:28+07:00 ธาดาธิเบศร์ ภูทอง (Thadathibesra Phuthong) thadathibesra@gmail.com ปริญญา บุตรอยู่ (Parinya Bootyu) parinya.b@ms.su.ac.th มนัสสินี บุญมีศรีสง่า (Manassinee Boonmeesrisa-nga) peerapat@ms.su.ac.th พีรพัฒน์ ยางกลาง (Peerapat Yangklang) peerapat@ms.su.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความคิดเห็นเกี่ยวรูปแบบและผลกระทบของการจัดกิจกรรมการรับน้องเชิงสร้างสรรค์ของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ 2) ผลกระทบของปัจจัยการจัดกิจกรรมการรับน้องเชิงสร้างสรรค์ในรูปแบบของกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ กิจกรรมพี่ระเบียบ และการแข่งขันภายในคณะที่มีต่อความพึงพอใจและความตั้งใจเชิงพฤติกรรมที่จะเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจากการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ของคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 320 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ การหาค่าเฉลี่ย การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาค่าร้อยละ จากนั้นทำการวิเคราะห์โมเดลการวัดและวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างก่อนการทำการตรวจสอบสมมติฐานด้วยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติแบบเส้นทางกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน (Partial Least Square: PLS) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SmartPLS</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร มีความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการจัดกิจกรรมการรับน้องเชิงสร้างสรรค์อยู่ในระดับมาก โดยมีประเด็นสำคัญที่ได้จากผลการวิจัย คือ นักศึกษามีความเห็นว่ารูปแบบการจัดกิจกรรมการรับน้องเชิงสร้างสรรค์เป็นที่ต้องการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ ด้านผลกระทบของการจัดกิจกรรมการรับน้องเชิงสร้างสรรค์ นักศึกษามีความเห็นว่าผลกระทบด้านบวก อยู่ในระดับมาก กล่าวคือ การจัดกิจกรรมการรับน้องเชิงสร้างสรรค์ก่อให้เกิดความรักความสามัคคี มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม และผลกระทบด้านลบ อยู่ในระดับปานกลาง กล่าวคือ รูปแบบการจัดกิจกรรมการรับน้องเชิงสร้างสรรค์อยู่ในระดับที่รับได้ไม่จำเป็นจะต้องมีการปรับปรุงกระบวนการจัดกิจกรรมต่อไป เนื่องจากกิจกรรมหลายอย่างก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านร่างกายและจิตใจ และ 2) ปัจจัยการจัดกิจกรรมการรับน้องเชิงสร้างสรรค์ในรูปแบบของกิจกรรมพี่ระเบียบส่งผลเชิงบวกต่อความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมมากที่สุด (ß=0.479, t=7.303 p=0.000) รองลงมา คือ กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (ß=0.219, t=3.657, p=0.000) ตามลำดับ นอกจากนี้ ความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมยังส่งผลเชิงบวกต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร (ß=0.871, t=51.536, p=0.000) โมเดลสมการโครงสร้างสามารถอธิบายผลของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ร้อยละ 75.80 (R<sup>2</sup>=0.758, R<sup>2</sup> adj=0.757) จากผลการวิจัยเป็นประโยชน์ต่อคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากรในการเพิ่มระดับความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการเข้าร่วมกิจกรรมรับน้องเชิงสร้างสรรค์ของนักศึกษา โดยผ่านความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการรับน้องเชิงสร้างสรรค์ในรูปแบบของกิจกรรมพี่ระเบียบ และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The objectives of this research were to study 1) the opinion on styles and effects of creative freshman welcoming activities of students at Faculty of Management Science, Silpakorn University; and 2) the effects of creative freshman welcoming styles in group dynamics, order activities, and competition within the faculty on satisfaction in activities, and students’ participation intention. The research tool was a questionnaire. The samples were 320 the first year students at Faculty of Management Science by convenience sampling. The statistics used in data analysis were frequency, mean, standard deviation and percentage. Then, the measurement model and structural equation modeling were tested the hypotheses testing by Partial Least Square Structural Equation Modeling (PLS-SEM) with SmartPLS software.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results showed that 1) the level of students’ opinion on styles and effects of creative freshman welcoming activities was a high level. According to the research results, the students stated that the styles of the creative freshman welcoming activities served the purposes and were well-received by the students. Concerning the effects of the creative freshman welcoming activities, they thought that the positive effects were a high level since the activities cultivated love, unity and sense of responsibility for the public while the negative effects were a moderate level as the activity styles were acceptable but needed improvement in the organizing procedures because some negative impacts on both the students’ body and mind. And 2) the most factor had a statistically significant on positive satisfaction toward the order activities and group activities, respectively.&nbsp; In addition, the positive satisfaction in activities had a statistically significant on students’ participation intention at Faculty of Management Science, Silpakorn University. The structural equation model could explain the effect to students’ participation intention at Faculty of Management Science, Silpakorn University at 75.80 percent (R<sup>2 </sup>= 0.758, R<sup>2</sup> adj = 0.757). The results of this research were beneficial to Faculty of Management Science, Silpakorn University to increase students’ participation intention in creative freshman welcoming activities through the satisfaction in activities by creative freshman welcoming styles in order activities and group activities.</p> 2019-12-09T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/174249 โมเดลสมการโครงสร้างของความสัมพันธ์ระหว่างประโยชน์เชิงใช้สอยของเทคโนโลยี ความไว้วางใจต่อชุมชนออนไลน์ และการยอมรับเทคโนโลยีต่อความตั้งใจ ในการซื้อสินค้าของผู้บริโภคผ่านแพลตฟอร์มโซเชียลคอมเมิร์ซ (A Structural Model of the Relationship of Technological Utility, Online Community Trust and Technology Adoption on Consumer Purchase Intention in Social Commerce Platform) 2019-12-12T16:45:58+07:00 ธาดาธิเบศร์ ภูทอง (Thadathibesra Phuthong) thadathibesra@gmail.com ณัฐรินีย์ โชติวัฒณฤดี (Nattarinee Chothiwatnarudee) thadathibes@ms.su.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง 1) ผลกระทบของความคุ้นเคยและการบอกต่อปากต่อปากที่ส่งผลต่อความไว้วางใจ 2) ผลกระทบของความคุ้นเคยที่ส่งผลต่อการรับรู้ถึงประโยชน์ 3) ผลกระทบของการบอกต่อปากต่อปาก ประโยชน์เชิงใช้สอยของเทคโนโลยี การรับรู้ถึงประโยชน์ และความไว้วางใจที่ส่งผลต่อความตั้งใจในค้นหาสินค้า 4) ผลกระทบของความคุ้นเคย ความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร ความไว้วางใจ และความตั้งใจในการค้นหาสินค้าที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการซื้อสินค้าของผู้บริโภค เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ แบบสอบถามซึ่งพัฒนามาจากการทบทวนวรรณกรรม และการตรวจสอบความเชื่อมั่นโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค แบบสอบถามได้กระจายแก่กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการซื้อสินค้าหรือบริการผ่านทางแพลตฟอร์มโซเชียลคอมเมิร์ซ จำนวน 340 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก จากนั้นทำการวิเคราะห์โมเดลการวัด และวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างก่อนการทำการตรวจสอบสมมติฐานด้วยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติแบบเส้นทางกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน (Partial Least Square: PLS)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคุ้นเคยเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่ส่งผลเชิงบวกต่อความไว้วางใจ รองลงมาคือ การบอกต่อปากต่อปาก ตามลำดับ 2) ความคุ้นเคยเป็นปัจจัยที่ส่งผลเชิงบวกต่อการรับรู้ถึงประโยชน์ 3) การบอกต่อปากต่อปากเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่ส่งผลเชิงบวกต่อความตั้งใจในค้นหาสินค้า รองลงมา คือ ความไว้วางใจ การรับรู้ถึงประโยชน์ และประโยชน์เชิงใช้สอยของเทคโนโลยี ตามลำดับ และ 4) ความตั้งใจในการค้นหาสินค้าเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่ส่งผลเชิงบวกต่อความตั้งใจในการซื้อสินค้าของผู้บริโภค รองลงมาคือ การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสารและความคุ้นเคย ตามลำดับ ในขณะที่ความไว้วางใจและความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไม่ส่งผลเชิงบวกต่อ ความตั้งใจในการซื้อสินค้าของผู้บริโภค โมเดลสมการโครงสร้างสามารถอธิบายผลของความตั้งใจในการซื้อสินค้าของผู้บริโภคผ่านแพลตฟอร์มโซเชียลคอมเมิร์ซ ได้ร้อยละ 54.50 (R<sup>2</sup> = 0.545, R<sup>2</sup>adj = 0.539) จากผลการวิจัยเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการธุรกิจออนไลน์ผ่านแพลตฟอร์มโซเชียลคอมเมิร์ซ ในการเพิ่มระดับความตั้งใจในการซื้อสินค้าของผู้บริโภคผ่านแพลตฟอร์มโซเชียลคอมเมิร์ซ โดยผ่านความตั้งใจในค้นหาสินค้าที่เกิดขึ้นจากการบอกต่อปากต่อปาก ความไว้วางใจ การรับรู้ถึงประโยชน์ และประโยชน์เชิงใช้สอยของ ตามลำดับ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The main purposes of this study were to investigate 1) the effect of familiarity and word of mouth on trust; 2) the effect of familiarity on perceived usefulness; 3) the effect of word of mouth, technological utility, perceived usefulness and trust on intention to search; and 4) the effect of familiarity, information technology availability, information support, trust and intention to search on consumer purchase intention. The tool, which is questionnaire and test the reliability by coefficient alpha. The questionnaire was distributed to 340 samples that have experience in purchase goods or services through social commerce platform by convenience sampling. Then analysis the measurement model and structural equation modeling before hypotheses testing by Partial Least Square Structural Equation Modeling &nbsp;(PLS-SEM) with SmartPLS software.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results showed that familiarity was the most influential factor affecting positive impact on trust, followed by word of mouth, respectively; 2) familiarity had positive impact on perceived usefulness; 3) word of mouth was the most influential factor affecting positive impact on intention to search, followed by trust, perceived usefulness and technological utility, respectively; and 4) intention to search was the most influential factor affecting positive impact on consumer purchase intention, followed by information support and familiarity, respectively. While the trust and information technology availability did not affect the consumer purchase intention. The structural equation model can explain the effect to consumer purchase intention through social media platform at 54.50 percent (R<sup>2</sup>=0.545, R<sup>2</sup> adj=0.539).&nbsp; The results of this research are beneficial to online business entrepreneur through social media platform to increase consumer purchase intention through the intention to search by word of mouth, trust perceived usefulness and technological utility, respectively.</p> 2019-12-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/175684 ผลกระทบของการมุ่งเน้นตลาด การพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมทางการตลาด และการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนต่อความสำเร็จของ ผู้ประกอบการโซเชียลคอมเมิร์ซ (Effects of Market Orientation, Marketing Innovation Development and Sustainable Competitive Advantage on Firm Success of Social Commerce Entrepreneur) 2019-12-13T08:44:13+07:00 ธาดาธิเบศร์ ภูทอง (Thadathibesra Phuthong) thadathibesra@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง 1) ผลกระทบของการมุ่งเน้นตลาด การพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมทางการตลาด และการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการโซเชียลคอมเมิร์ซ และ 2) อิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของการมุ่งเน้นตลาด การพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมทางการตลาด และการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนที่มีต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการโซเชียลคอมเมิร์ซ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณทำการวิจัยเชิงประจักษ์และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการโซเชียลคอมเมิร์ซ &nbsp;จำนวน 400 คน จากนั้นทำการวิเคราะห์โมเดลการวัดและวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างก่อนทำการตรวจสอบสมมติฐานด้วยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติแบบเส้นทางกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน (Partial Least Square: PLS) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SmartPLS</p> <p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>ผลการวิจัยพบว่า 1) การมุ่งเน้นตลาดโดยการมุ่งเน้นคู่แข่งเป็นเป็นสำคัญที่สุดที่ส่งผลต่อการพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมทางการตลาด รองลงมาคือ การมุ่งเน้นลูกค้า โดยการพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมทางการตลาดเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนโดยการแข่งขัน แบบเจาะจงมากที่สุด รองลงมาคือ การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้วยความแตกต่าง และการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่า นอกจากนี้การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้วยการแข่งขันแบบเจาะจงยังส่งผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการโซเชียลคอมเมิร์ซมากที่สุด รองลงมาคือ การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่า ตามลำดับ และ 2) การมุ่งเน้นตลาดโดยการมุ่งเน้นคู่แข่งมีอิทธิพลทางตรงต่อการพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมทางการตลาดมากที่สุด (DE=0.382, TE=0.380) รองลงมาคือ การมุ่งเน้นลูกค้า (DE=0.206, TE=0.206) ตามลำดับ นอกจากนี้ การมุ่งเน้นคู่แข่งยังมีอิทธิพลทางอ้อมต่อการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนโดยการแข่งขันแบบเจาะจง มากที่สุด (IE=0.195, TE=0.195) รองลงมาคือ การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้วยความแตกต่าง (IE=0.154, TE=0.154) และการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่า (IE=0.122, TE=0.122) ตามลำดับ โดยการมุ่งเน้นลูกค้ายังมีอิทธิพลทางอ้อมต่อการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนโดยการแข่งขันแบบเจาะจง มากที่สุด (IE=0.106, TE=0.106) รองลงมาคือ การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่า (IE=0.104, TE=0.104) ตามลำดับ ซึ่งการพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมทางการตลาดมีอิทธิพลทางตรงต่อการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนแบบเจาะจงมากที่สุด (DE=0.514, TE=0.514) รองลงมาคือ การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้วยความแตกต่าง&nbsp; (DE=0.405, TE=0.405) และการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่า (DE=0.321, TE=0.321) ตามลำดับ นอกจากนี้การพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมทางการตลาดยังมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการโซเชียลคอมเมิร์ซ (IE=0.273, TE=0.273) และการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนแบบเจาะจงมีอิทธิพลทางตรงต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการโซเชียลคอมเมิร์ซมากที่สุด (DE=0.326, TE=0.326) รองลงมาคือ การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่า (DE=0.188, TE=0.188) ตามลำดับ โมเดลสมการโครงสร้างสามารถอธิบายผลของความสำเร็จของผู้ประกอบการโซเชียลคอมเมิร์ซ ได้ร้อยละ 23.50 จากผลการวิจัยเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการธุรกิจออนไลน์ ในการเพิ่มระดับความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจบนแพลตฟอร์มโซเชียลคอมเมิร์ซ โดยผ่านการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนโดยการแข่งขันแบบเจาะจงที่เกิดจากการพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมทางการตลาดด้วยการมุ่งเน้นคู่แข่ง</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purposes of this study were to investigate 1) the effect of market orientation, marketing innovation development and sustainable competitive advantage on firm success of social commerce entrepreneur; and 2) the direct effect, indirect effect and total effect of market orientation, marketing innovation development and sustainable competitive advantage on firm success of social commerce entrepreneur. The quantitative survey research method is used for this study and the research tool is a questionnaire to collect data from 400 social commerce entrepreneurs as the sample size. Then analysis the measurement model and structural equation modeling before hypotheses testing by Partial Least Square Structural Equation Modeling (PLS-SEM) with SmartPLS software.</p> <p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>The results found that the most factor that have a statically significant positive effects on marketing innovation development was the market orientation into competitor orientation and market orientation into customer orientation, respectively. And marketing innovation development was the most factors that have statically significant positive effects on sustainable competitive advantage using focus strategy, sustainable competitive advantage using differentiation strategy and sustainable competitive advantage using cost leadership strategy. Moreover, the sustainable competitive advantage using focus strategy was the most factors that have statically significant positive effects on the firm success of social commerce entrepreneur and sustainable competitive advantage using cost leadership strategy, respectively; and 2) the market orientation into competitor orientation have a statically significant direct effect on marketing innovation development (DE=0.382, TE=0.380) and market orientation into customer orientation (DE=0.206, TE=0.206), respectively. Moreover, the market orientation into competitor orientation was the most factors that have a statically significant indirect effect on sustainable competitive advantage using focus strategy (IE=0.195, TE=0.195), sustainable competitive advantage using differentiation strategy (IE=0.154, TE=0.154) and sustainable competitive advantage using cost leadership strategy (IE=0.122, TE=0.122), respectively. And market orientation into customer orientation was the most factors that have a statically significant indirect effect on sustainable competitive advantage using focus strategy (IE=0.106, TE=0.106) and sustainable competitive advantage using cost leadership strategy (IE=0.104, TE=0.104), respectively. Which marketing innovation development was the most factors that have a statically significant direct effect on sustainable competitive advantage using focus strategy (DE=0.514, TE=0.514), sustainable competitive advantage using differentiation strategy (DE=0.405, TE=0.405) and sustainable competitive advantage using cost leadership strategy (DE=0.321, TE=0.321), respectively. In additionally, marketing innovation development have a statically significant indirect effect on the firm success of social commerce entrepreneur (IE=0.273, TE=0.273) and sustainable competitive advantage using focus strategy was the most factors that have a statically significant direct effect on the firm success of social commerce entrepreneur (DE=0.326, TE=0.326) and sustainable competitive advantage using cost leadership strategy (DE=0.188, TE=0.188), respectively. The structural equation model can explain the firm success of social commerce entrepreneur at 23.50 percent. The results of this research are beneficial to online business entrepreneur to increase the firm success on social commerce platform through the sustainable competitive advantage using focus strategy by marketing innovation development with competitor orientation.</p> 2019-12-13T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/208492 ตัวแบบเส้นทาง PLS ที่ส่งผลต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการบนแพลตฟอร์มดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ (The PLS Path Model Affecting the Entrepreneurial Intention on Digital Platform of BBA Students) 2019-12-13T08:50:18+07:00 ธาดาธิเบศร์ ภูทอง (Thadathibesra Phuthong) thadathibesra@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การศึกษาเรื่องตัวแบบเส้นทาง PLS ที่ส่งผลต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการบนแพลตฟอร์มดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการบนแพลตฟอร์มดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีในหลักสูตรการบริหารธุรกิจในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้างด้วยเทคนิควิธี Partial Least Square (PLS) และการพรรณาข้อมูล</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า บุคลิกภาพแบบยึดมั่นในหลักการ บุคลิกภาพแบบประนีประนอม บุคลิกภาพแบบเปิดใจสู่การเรียนรู้ บุคลิกภาพแบบมั่นคงทางอารมณ์ แรงจูงใจภายในที่จะเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ แรงจูงใจภายนอกที่จะเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ ต่างมีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการบนแพลตฟอร์มดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ โมเดลสมการโครงสร้างสามารถอธิบายผลของความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการบนแพลตฟอร์มดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ ได้ ร้อยละ 55.60 (R<sup>2 </sup>= 55.60, R<sup>2</sup>adj = 55.20) จากผลการวิจัยเป็นประโยชน์ต่อสถาบันการศึกษา ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการเพิ่มระดับความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการบนแพลตฟอร์มดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ โดยผ่านแรงจูงใจภายในและภายนอกที่จะเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพที่เกิดจากบุคลิกภาพแบบยึดมั่นในหลักการ บุคลิกภาพแบบประนีประนอม บุคลิกภาพแบบเปิดใจสู่การเรียนรู้ และบุคลิกภาพแบบมั่นคงทางอารมณ์</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;To study the PLS model affecting the entrepreneurial intention on digital platform of BBA students. The objectives of this study are factors that has causal relationship with entrepreneurial intention on digital platform of BBA students. The samples are 400 undergraduate students in business management program in Phetchaburi and Prachuap Khiri Khan provice. The research instrument was a questionnaire. In the process of data analysis, Partial Least Square (PLS) technique was used to investigate the structural equation modeling and descriptive statistics were used to analyze.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research found that the conscientiousness, agreeableness, openness to experience, emotional stability, intrinsic professional entrepreneurial motivation, extrinsic professional entrepreneurial motivation had causal relation with entrepreneurial intention on digital platform of BBA students. The structural equation model can explain the entrepreneurial intention on digital platform of BBA students at 55.60 percent (R<sup>2</sup> = 0.556, R<sup>2</sup>adj = 0.552). The results of this research are beneficial to educational institutions, business incubators and stakeholders to increase the entrepreneurial intention on digital platform of BBA students through the intrinsic and extrinsic professional entrepreneurial motivation by the conscientiousness, agreeableness, openness to experience, and emotional stability.</p> 2019-12-13T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/182503 Knowledge and Knowledge Management of Herb and Yam Khang Treatment of School of Traditional and Alternative Medicine, Chiang Rai Rajabhat University 2019-12-13T08:57:14+07:00 Theraphat Chaiphiphat wnittaya66@gmail.com Sidthinat Prabudhanitisarn sidtinat@chiangmai.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The study attempted to develop and manage knowledge of oriental traditional medicine to improve the connection with western medicine. Limitation on comparing with western medicine was due to lack of in-depth analysis on knowledge and management of some successful cases of western medical treatment. Therefore, this study aimed to analyze knowledge management by using Yam Khang treatment as a case study, which the concept of knowledge and knowledge management was used to 1) collect and analyze the treatment knowledge, and 2) analyze and interpret the treatment result with knowledge of oriental traditional medical comparing with western medical knowledge as done by School of Traditional and Alternative Medicine, Chiang Rai Rajabhat University. The study reviewed literatures, captured and organized the tacit knowledge of muscle and ligament pain from successful traditional healer. The results found that the knowledge of four-element balance is complicate and effective. The patients were obviously recovered after applying Yam Khang treatment using heat from burned Khang plate accompany with heat from Plai’s active ingredient (providing heating action as synergist of burned Khang plate’s heat) to balance the subsystem of four elements or increase mass of dynamic elements. Explanation of this study may improve the connection between oriental and western medicine and may support interpretation of the case study on oriental medicine for society of modern medicine.</p> 2019-12-13T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/167910 การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (The Development of Blended Instructional Model to Enhance Chinese Communicative Learning Competence of High School Students) 2019-12-13T09:04:39+07:00 นำโชค บุตรน้ำเพ็ชร (Numchoke Budnampetch) francais_n123@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และเพื่อประเมินประสิทธิผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัยในครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 วิชาเอกภาษาจีน ที่เรียนรายวิชาภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ESPPE Model) ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบเชิงหลักการและวัตถุประสงค์ องค์ประกอบเชิงกระบวนการ และองค์ประกอบเชิงเงื่อนไขการนำรูปแบบไปใช้ องค์ประกอบเชิงกระบวนการมีขั้นการสอน 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นเข้าสู่บทเรียน (Engage : E)&nbsp; 2) ขั้นการเรียนการสอน (Study : S) 3) ขั้นฝึกตามแบบ (Structured Practice : P) 4) ขั้นฝึกอิสระ (Independent Practice : P) และ 5) ขั้นประเมินและสรุปผล การเรียน (Evaluation of Performance and Feedback : E &amp; F) ผลจากการตรวจสอบความเหมาะสม ความเป็นไปได้และคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน พบว่า รูปแบบการเรียนการสอน ESPPE&nbsp; Model&nbsp; ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญในภาพรวมมีความเหมาะสม ความเป็นไปได้และคุณภาพโดยภาพรวมอยู่ในระดับดี ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 4.00, S.D. = .00) และค่าประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนเท่ากับ 84.71/88.89&nbsp; สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 และผลการประเมินประสิทธิผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอน พบว่า ความสามารถในการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียนหลังการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 4.35, S.D. =.13)</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research's objective is to develop and find the efficiency of an instructional model to enhance Chinese language communication competency in senior high school students, and to evaluate the effectiveness of the model. The sample group consists of grade 12 students studying Chinese for Tourism course, in Chinese major, at Prasarnmit Demonstration School (Secondary), during the second semester of 2017. The research presents the ESPPE Model, which contains three components – principle and objective, process and implementation. There are five steps in the process: 1) Engage: E, 2) Study: S, 3) Structured Practice: P, 4) Independent Practice: P, and 5) Evaluation of Performance and Feedback: E&amp;F. The results of the adequacy, possibility and quality investigations by five experts shows that the ESPPE Model is good (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> = 4.00, S.D. = .00), and the efficiency of the model is at 84.71/88.89, topping the standard score of 80/80. After evaluation of the ESPPE Model Implementation, it is found that Chinese language communication competence in 80 percent of the sample is above standard, with statistically significance level of .05. The satisfaction of the student sample is also high ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">= 4.35, S.D. =.13)&nbsp;</p> 2019-12-13T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/201069 การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมชุมชนกาดกองต้า จังหวัดลำปาง (Cultural Landscape Management Of Kadkongta, Lampang) 2019-12-17T13:27:07+07:00 ปกรณ์ วนชยางค์กูล (Pakorn Vanachayangkul) province_77_korn@hotmail.com ชัยสิทธิ์ ด่านกิตติกุล (Chaiyasit Dankittikul) chai0302@yahoo.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;กาดกองต้าเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดลำปาง ด้วยศิลปวัฒนธรรม และสถาปัตยกรรมอันโดดเด่นของสิ่งก่อสร้างที่เก่าแก่ เช่น อาคาร และบ้านเรือนที่ได้รับอิทธิพลมาจาก 2 ชาติ พันธุ์ใหญ่ ๆ คือ จีน กับยุโรป เนื่องจากสมัยก่อนพื้นที่นี้เป็นศูนย์กลางการค้าทางน้ำที่สำคัญของภาคเหนือ ทำให้มีหลากหลายเชื้อชาติมาตั้งถิ่นฐาน ส่งผลให้ชุมชนกาดกองต้าได้รับเอาอิทธิพลทางสถาปัตยกรรมมาผสมผสานแสดงผ่านออกมาในรูปแบบสิ่งก่อสร้าง อาคารและบ้านเรือน ต่อมาความเจริญในด้านต่าง ๆ ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในสังคมไทย &nbsp;รวมทั้งจังหวัดลำปาง ทำให้ทัศนียภาพของพื้นที่อนุรักษ์อย่างชุมชนกาดกองต้าได้รับผลกระทบจากความเจริญทางเศรษฐกิจ และ กระแสการพัฒนาของเมืองรุกเร้า จากปัญหาที่แฝงมากับความเจริญของสังคมไทยนี้ทำให้งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาถึงคุณค่าและปัญหาในด้านต่าง ๆ รวมถึงแนวทางการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมชุมชนกาดกองต้า จังหวัดลำปาง โดยการลงพื้นที่สำรวจเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ พบว่าพื้นที่ชุมชนกาดกองต้าได้รับผลกระทบให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพอย่างชัดเจนจากอาคารตึกแถวที่มีสถาปัตยกรรมแบบสมัยใหม่ ป้ายร้านค้าและโฆษณาต่าง ๆ จากการผลการศึกษานี้นำไปสู่การนำเสนอแนวทางการจัดการดูแลรักษาภูมิทัศน์วัฒนธรรมของชุมชนกาดกองต้าอย่างยั่งยืนประกอบด้วย การดูแลรักษาการรักษาให้คงสภาพ การปรับประโยชน์ใช้สอย และ การพัฒนาและสร้างสรรค์ใหม่ โดยคำนึงถึงความเชื่อมโยงของสถานที่กับผู้คน ทั้งกิจกรรมของชุมชน และ กิจกรรมของนักท่องเที่ยวให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และจะทำให้ชุมชนกาดกองต้า จังหวัดลำปางเป็นชุมชนที่คงความเป็นภูมิทัศน์วัฒนธรรมอย่างยั่งยืนที่แท้จริง</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; Kadkongta is an important economic tourism attraction of Lampang province in concerning with arts and old architecture which attract many tourists. The Architecture was influenced by Chinese and European culture, which inherited from the previous trading condition of Lampang in the past, which led to contain the diversity of ethnics and cultures. Nowadays the civilization makes many changes to Thailand including Lampang province and affect the cultural landscape of Kadkongta. Base on side effect of prosperity of the city, lead this research aims to study history and traditional cultural landscape of Kadkongta since the past to the present, to make the guidelines for managing cultural landscape of Kadkongta in Lampang province by survey and collect the data. From the quantitative data it was found that Kadkongta community areas were affected physically by changed of the old building to modern architecture. From this finding lead to propose a guideline for sustainable management of Kadkongta cultural landscape, consisting of Keeping, Maintaining, Adaptation and Development in considering of connect peoples with the meaning and spirit place including both of community activities and tourist activities and these will make Kadkongta to be a valuable sustainable cultural landscape.</p> 2019-12-17T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/146136 แนวทางการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงอาหาร (Development Guideline of Gastronomy Tourism Management) 2019-12-17T13:37:08+07:00 ปฤณพร บุญรังษี (Prinnaporn Bunrangsee) prinnaporn@gmail.com สันติธร ภูริภักดี (Santidhorn Pooripakdee) santidhorn@ms.su.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) โดยการวิจัยเชิงคุณภาพใช้หลักการวิจัยเอกสาร (Document Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพความเป็นจริง ปัญหา และอุปสรรคของการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงอาหารของไทย และการศึกษาในเชิงปริมาณได้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลจากนักท่องเที่ยวชาวไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวไทยเกี่ยวกับการบริการจัดการการท่องเที่ยวเชิงอาหารของไทย</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษาพบว่ามีด้านที่ควรพัฒนาจากการทบทวนวรรณกรรม เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องซึ่งจัดแบ่งได้ 7 ด้าน คือ ด้านกิจกรรม ด้านการบริการ ด้านราคา ด้านความสะอาด ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านชุมชน และด้านองค์กรสนับสนุน สำหรับผลการวิจัยจากแบบสอบถามแสดงให้เห็นว่านักท่องเที่ยวชาวไทยให้ความสำคัญเรื่องการจัดการการท่องเที่ยวเชิงอาหารของไทยในด้านความสะอาดมากที่สุด รองลงมาคือด้านกิจกรรม ด้านองค์กรสนับสนุน ด้านการบริการ ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านราคา และอันดับสุดท้าย คือด้านชุมชนตามลำดับ ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้เข้าใจถึงสภาพความเป็นจริง ปัญหาและอุปสรรคของการท่องเที่ยวเชิงอาหารในประเทศไทย รวมไปถึงทางการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงอาหาร และข้อควรพัฒนาเพื่อการบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงอาหารต่อไป</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This study is a mixed method research. The document research is used as qualitative method to summarize the current situation of gastronomy tourism management in Thailand as well as problems and threats. The quantitative method is applied through questionnaire survey in order to explore need assessment of Thai tourism for gastronomy tourism.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; According to results of the documentary research, there are seven aspects of gastronomy tourism management: activities, services, price, hygiene, public relations, community and supporting organizations. The questionnaire survey revealed that Thai tourists prioritized hygiene as the most important aspect of gastronomy tourism and following by activities, supporting organizations, public relations, price and community respectively. The findings enable better understanding of current situation of Thai gastronomy tourism, problems and threats. As well, the further development guideline of Thai gastronomy tourism are noted.</p> 2019-12-17T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/174716 Cultural Probe method as a tool of design ideas for enhancing experience city strategy. 2019-12-17T13:42:54+07:00 Fonthip Rangsitsawat fonthip.r@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;“Experience City” is a city branding concept in this research which aims to provide economic growth opportunities and to improve the well-being of residents. This research is a part of PhD research that aims to explore the user needs and user motivation related to the proposed design ideas for the Experience City strategy. The focus of the study is on tourism experiences in the city of Nakhon Si Thammarat, Southern Thailand, used in the research as a case study.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; A Cultural Probe, a method used to gather information about people and their activities, is used in the research to explore the tangible and intangible aspects of the tourism experience. The experimental process has involved three main stages of the tourism activity, namely: pre-journey, during the journey, and post-journey with each stage providing different activities to approach its objectives. Participants in the study were required to follow the activities shown in the “Experience Journey Book” by using all items in the cultural probe kit.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results from cultural probe method will be analyzed to create a visual communication design, aimed at enhancing the Experience City strategy. It is expected to be an alternative solution tool in order to achieve the transactional way for the Experience City branding, based on the attraction of tourism dimension.</p> 2019-12-17T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/198032 กรอบมโนทัศน์ เรื่อง การใช้หลักความเมตตาในการสอนดนตรีไทย ของผู้ช่วยศาสตราจารย์สงบศึก ธรรมวิหาร (A Conceptual Model Of Metta (Loving-Kindness) Engagement In Thai Classical Music Teaching Of Assistant Professor Sangobseuk Thamviharn) 2019-12-17T13:56:39+07:00 พรปวีณ์ จันทร์ผ่อง (Pornpawee Junpong) kwan_ppw@hotmail.com ดนีญา อุทัยสุข (Dneya Udtaisuk) u.dneya@chula.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างกรอบมโนทัศน์เรื่อง เรื่อง การใช้หลักความเมตตาในการสอน ดนตรีไทย ของผู้ช่วยศาสตราจารย์สงบศึก ธรรมวิหาร ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ทฤษฎีฐานรากเป็นแนวทางการดำเนินการวิจัย (grounded theory research) โดยมีขั้นตอนในการวิจัยคือ ศึกษาข้อมูลเพื่อกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย โดยได้ศึกษาข้อมูลด้านอัตชีวประวัติ และแนวคิดการถ่ายทอดดนตรีไทยของผู้ช่วยศาสตราจารย์สงบศึก ธรรมวิหาร ความหมาย ลักษณะ และบทบาทของความเมตตา รูปแบบและวัตถุประสงค์ของการสอนดนตรีไทย และเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา(content analysis)สร้างข้อสรุปแบบอุปนัยวิเคราะห์และนำเสนอเป็นกรอบมโนทัศน์</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า กรอบมโนทัศน์เรื่อง เรื่อง การใช้หลักความเมตตาในการสอนดนตรีไทย ของผู้ช่วยศาสตราจารย์สงบศึก ธรรมวิหาร แบ่งได้ 5 ประเด็น ดังนี้ 1) การให้ด้วยหลักจิตวิทยาเชิงบวก ท่านเป็นผู้สร้างบรรยากาศในการเรียนที่ดี เป็นผู้ที่มีอารมณ์ขัน ให้ความรัก กำลังใจ และข้อคิดต่อศิษย์ 2) การให้ด้วยหลักความเข้าใจในความแตกต่างของผู้เรียน ใช้การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีความยืดหยุ่นในการสอน 3) การให้ความรู้ที่ถูกต้อง โดยมีความอดทน ใจเย็น ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบในหน้าที่การสอนของตนเองอย่างสูง 4) การให้ความรู้ที่ครบถ้วน<strong> โดยสามารถสอนได้ทุกเวลา </strong>จนได้รับการขนาดนามว่า “ตู้พจนานุกรมเพลงไทยเคลื่อนที่” และ 5) การให้ประสบการณ์ตรง โดยให้คำปรึกษา มอบโอกาสและประสบการณ์ทางดนตรีที่ดีและหลากหลายให้กับศิษย์</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purpose of this research was to: create a conceptual model of <em>Metta (Loving- kindness)</em> in Thai classical music teaching of Assistant Professor Sangobseuk Thamviharn. This qualitative research applied grounded theory research methodology; reviewing literature was reviewed in many areas to map the conceptual framework. The literature data includes autobiographical information, his style and objectives in the transmission of Thai classical music. Moreover, resources related with the meaning, characteristics and roles of Metta <em>(</em><em>Loving- kindness)</em> were reviewed. The data was gathered through in-depth interview and participative observation. The content was analyzed through inductive method, then synthesized as a conceptual model.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The&nbsp;&nbsp; research result indicated that:&nbsp;&nbsp;&nbsp; a conceptual model of <em>Metta (Loving-kindness)</em> engagement in Thai classical music teaching and transmission of Assistant Professor Sangobseuk Thamviharn can be divided in to five aspects. 1) Kindness with positive psychology mind, where he infused and learning atmosphere with his sense of humor along with his love and support. 2) Kindness with understanding the individual differences; where he adapted his lessons to fit well with leach different learners. 3) Kindness to provide valid and reliable subject matters, where he dedicated his time and effort with high commitment. 4) Kindness to provide resourceful subject matters, where he was willing to give all knowledge, he had collected, to his students at any time needed. As a result, he was name “The moving encyclopedia of Thai classical music” 5) The kindness to provide real life music experiences, where he gave not only advise but also opportunities in variety as well as in quality.</p> 2019-12-17T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/197757 แนวทางการเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชีพของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวชั้นปีที่ 4 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Guidelines for Prepare to Career Preparation of the Fourth Year Students in Tourism Management Program, Faculty of Management Science, Silpakorn University) 2019-12-17T14:08:07+07:00 มนัสสินี บุญมีศรีสง่า (Manassinee Boonmeesrisa-nga) manassinee@ms.su.ac.th กชวรรณ วงศ์สกุล (Kochawan Wongsakul) manassinee@ms.su.ac.th จันจิรา คงทน (Chanjira Kongton) manassinee@ms.su.ac.th ฐิตา รัตนพงษ์พร (Tita Rattanapongporn) manassinee@ms.su.ac.th ธีริศรา หอมจันทรา (Thirisara Homjantra) manassinee@ms.su.ac.th เบญญาภา ระหว่างบ้าน (Benyapha Rahwangbaan) manassinee@ms.su.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชีพของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) เป็นเครื่องมือในการวิจัย ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยศิลปากร ด้วยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 25 คน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัย พบว่า แนวทางการเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชีพของนักศึกษา แบ่งออกเป็น&nbsp;&nbsp; 3 ช่วง ได้แก่ 1) แนวทางก่อนเข้าศึกษา คือ ความสนใจด้านมัคคุเทศก์ ความสนใจด้านภาษาและความสนใจเกี่ยวกับธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว 2) แนวทางการเตรียมความพร้อมระหว่างการศึกษา คือ แนวทางในการเลือกเรียนวิชาเลือกเสรีและแนวทางในการเลือกสถานที่ฝึกงาน และ 3) แนวทางการเตรียมความพร้อมหลังจบการศึกษา คือ แนวทางการเลือกสถานที่ทำงานและแนวทางการเตรียมตัวเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง&nbsp; เป็นต้น และมีความคาดหวังต่อสถานประกอบการ ได้แก่ ด้านสวัสดิการ ด้านรายได้และความมั่นคง</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aims to study the guidelines for prepare to career preparation of the fourth year students in tourism management program, faculty of management science, silpakorn university. The researcher gathered data by conducting in-depth interviews and the key informant was 25 people of the fourth year student of faculty of management science, majoring in tourism at Silpakorn University,</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results found that guidelines for prepare to career preparation of the fourth year students in tourism management program, faculty of management science, silpakorn university divided into 3 phases; 1) the preparation before admission that included interested in guide career, interested in languages and interested in career which related to tourism industry; 2) the preparation while studying that included guidelines to choose free elective subjects and guidelines to choose internship places; and 3) the preparation after graduates that included guidelines to choose the workplace and the preparation for enhancing self-potential etc.., in addition, students expected to the workplace such as benefits, salary and stability.</p> 2019-12-17T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/201070 กลยุทธ์การขับเคลื่อนและการพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 (Driven Strategies and Development English Listening and Speaking Skills of Students in Prachuap Khiri Khan Primary Educational Service Area Office 2) 2019-12-17T14:17:09+07:00 ยุรนันท์ วรรณรักษ์ (Yuranan Wannarak) zam_zamza@hotmail.com กาญจนา บุญส่ง (Kanchana Boonsong) zam_zamza@hotmail.com นิภา เพชรสม (Nipa Phetsom) zam_zamza@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 เป็นสิ่งที่สถานศึกษาให้ความสำคัญมาอย่างต่อเนื่อง จากการประเมิน&nbsp; &nbsp;&nbsp;ผลการเรียนรู้ของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 พบว่า มีปัญหาด้านทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ทำให้ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้วิจัยจึงสนใจทำวิจัยเรื่องนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กลยุทธ์การขับเคลื่อน การพัฒนาครูเครือข่ายเพื่อพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 2) กลยุทธ์การพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 และ 3) ผลการพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย ได้แก่ ครูเครือข่าย จำนวน 5 คน และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกลุ่มอำเภอกุยบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 จำนวน 112 คน โดยเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือการใช้ กลยุทธ์การพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 และแบบประเมินทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) กลยุทธ์การขับเคลื่อนการพัฒนาครูเครือข่ายที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรม ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์เครือข่าย กลยุทธ์การมีส่วนร่วม กลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจ และกลยุทธ์การบูรณาการ 2) กลยุทธ์การพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 ได้แก่ การสอนทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษ โดยใช้เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง (Total Physical Response) บูรณาการกิจกรรมการประกอบอาหารและการแสดงบทบาทสมมติ และ 3) ผลการพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 พบว่า หลังการใช้กลยุทธ์การขับเคลื่อนและการพัฒนา นักเรียนมีระดับคุณภาพทักษะการฟังและพูดภาษาอังกฤษ อยู่ในระดับดี และมีร้อยละ ของความก้าวหน้าเท่ากับ 31.29&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The development of the 21<sup>st</sup> century skills is the thing that schools have given importance continuously. From the assessment, the result of students’ learning in Kuiburi district, Prachuap Khiri Khan Primary Educational Service Area Office 2 had the problems about English listening and speaking skills so they could not use English for communication in their daily routine efficiently. Researcher is interested in doing this research. The purposes of this research were to study 1) the driven strategies and development of teacher networks for developing English listening and speaking skills of students, 2) the driven strategies and development English listening and speaking skills of students, and 3) the result of developing English listening and speaking skills of students in Prachuap Khiri Khan Primary Educational Service Area Office 2.&nbsp; &nbsp; &nbsp;The target group in the research by purposive sampling were 5 teacher networks and 112 of Mathayomsuksa 3 students in Kuiburi district, Prachuap Khiri Khan Primary Educational Service Area Office 2. The instruments used for research were the manual of driven strategies and development English listening and speaking skills of students in Prachuap Khiri Khan Primary Educational Service Area Office 2 and the English listening and speaking skills assessment form. The statistic used for data analysis were percentage, mean, and standard deviation.&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research result were as follows 1) There were 4 driven strategies and development&nbsp; of teacher network, consist of the networking strategy, the participation strategy, the empowerment strategy, and the integration strategy. 2) For the driven strategies and development English listening and speaking skills of students in Prachuap Khiri Khan Primary Educational Service Area Office 2 was teaching English listening and speaking skills using total physical response integrated with cooking and role playing techniques. And 3) The result of developing English listening and speaking skills of students in Prachuap Khiri Khan Primary Educational Service Area Office 2 revealed that the quality of English speaking and listening skills of students after using&nbsp; the driven strategies and development was at a good level with the progress percentage&nbsp; at 31.29.</p> 2019-12-17T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/205912 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ และทัศนคติที่ดีต่อคุณลักษณะเกษตรกรปราดเปรื่องรุ่นใหม่ ของนิสิตสาขาที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน (Factors Relating to Perception and Positive Attitude toward Attribution of Young Smart Farmer of Student in Agricultural Field at Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus) 2019-12-17T14:49:34+07:00 วชิรศักดิ์ แก้วศรีสุข (Wachirasuk Gaewsrisook) wachirasuk3727@gmail.com สุภาสิณี นุ่มเนียม (Supharsinee Numniem) Wachirasuk3727@gmail.com นิรันดร์ ยิ่งยวด (Nirun Yingyuad) Wachirasuk3727@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ต่อคุณลักษณะเกษตรกรปราดเปรื่องรุ่นใหม่ของนิสิตสาขาที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน และ 2) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับทัศนคติที่ดีต่อคุณลักษณะเกษตรกรปราดเปรื่องรุ่นใหม่ของนิสิตสาขาที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน หลักสูตร 4 ปี ที่มีการเรียนวิชาเกี่ยวกับการเกษตรในหมวดวิชาแกน และวิชาเฉพาะ อย่างน้อย 21 หน่วยกิต จำนวน 376 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) มีตัวแปรอิสระ 3 ตัวแปร ร่วมกันทำนายการรับรู้คุณลักษณะเกษตรกรปราดเปรื่องรุ่นใหม่ของนิสิต ได้ร้อยละ 42.5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เรียงลำดับตามร้อยละของการทำนาย คือ ความต้องการมีคุณลักษณะเกษตรปราดเปรื่องรุ่นใหม่&nbsp; การสนับสนุนข้อมูลเรื่องคุณลักษณะเกษตรกรปราดเปรื่องรุ่นใหม่จากอาจารย์&nbsp; และความใฝ่เรียนรู้ของนิสิต&nbsp; และ 2) มีตัวแปรอิสระ 3 ตัวแปร ร่วมกันทำนายทัศนคติที่ดีต่อคุณลักษณะเกษตรกรปราดเปรื่องรุ่นใหม่ของนิสิต ได้ร้อยละ 34.6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เรียงลำดับตามร้อยละของการทำนาย คือ ความต้องการมีคุณลักษณะเกษตรกรปราดเปรื่องรุ่นใหม่&nbsp; ความใฝ่เรียนรู้ของนิสิต และการสนับสนุนข้อมูลเรื่องคุณลักษณะเกษตรกรปราดเปรื่องรุ่นใหม่จากอาจารย์&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aimed were 1) Studied factors related to the perception toward attribution of Young Smart Farmer of student in agricultural field at Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, and 2) Studied factors related to positive attitude towards attribution of Young Smart Farmer of student in agricultural field at Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus. The samples were Kasetsart University student at Kamphaeng Saen Campus, who learned in 4-year program that included courses on agriculture in core subjects and specific subjects, with at least 21 credits, 376 students, derived from multi-stage sampling. Collected data with rating scale questionnaire.&nbsp; Statistics used in data analysis were mean, Standard Deviation, Pearson's correlation coefficient, and multiple regression analysis</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results were as follow: 1) there were 3 independent variables together to predict the perception toward attribution of Young Smart Farmer of student at 42.5 percent with statistical significance at .01 level. Sorted by percentage of prediction, ie the demanded to have attribution of Yong Smart Farmer, Supported information about attribution of Yong Smart Farmer from teacher, and students’ pursuing learned.&nbsp; And 2) there were 3 independent variables together to predict the positive attitude toward attribution of Young Smart Farmer of student at 42.5 percent with statistical significance at .01 level. Sorted by percentage of prediction, ie the demanded to have attribution of Yong Smart Farmer, students’ pursuing learned, and Supported information about attribution of Yong Smart Farmer from teacher.</p> 2019-12-17T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/170497 สถิติตำแหน่งดวงดาวในวันเกิดกับโรคเบาหวาน (The Statistics of the Sun and the planets’ Position at Birth Date and Diabetes Mellitus) 2019-12-17T16:25:39+07:00 วัฒนา ชยธวัช (Vadhana Jayathavaj) vadhana.j@ptu.ac.th ทับทิม ย้อยสนิท (Thabthim Yoysanit) tppt_2010@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; โหราศาสตร์มี 3 ภาค คือ ภาคคำนวณ ภาคทำนายและภาคพิธีกรรม โหราศาสตร์ไทยเดิมใช้การคำนวณตำแหน่งดาวตามคัมภีร์สุริยยาตร์&nbsp; แต่ภาคการทำนายเป็นไปตามปกรณ์ของแต่ละสำนัก การจัดทำสถิติตำแหน่งดาวในจักรราศรีจากวันเกิดเพื่อใช้ในภาคการทำนายยังไม่ปรากฏชัดเจน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความเชื่อมโยงของตำแหน่งดวงดาวในวันเกิดกับโรคเบาหวาน โดยได้จัดทำสถิติของผู้ป่วยโรคเบาหวานโดยใช้ข้อมูลวันเกิดของผู้ป่วยของจากโรงพยาบาลอำเภอแห่งหนึ่งมาทำการคำนวณตำแหน่งดาว 10 ดวงในวันเกิด สำหรับดวงดาวแต่ละดวงได้คำนวณสัดส่วนผู้ป่วยโรคเบาหวานเทียบกับผู้ป่วยทุกโรคในแต่ละราศี แล้วทำการคำนวณผู้ป่วยคาดหวังเพื่อใช้สถิติไคสแควร์ทดสอบสาระสมรูป (goodness of fit test) ที่นัยสำคัญ 0.05 องศาเสรี 11 ในการตัดสินว่า สำหรับดวงดาวนั้น ๆ สัดส่วนโดยจำนวนผู้ป่วยเบาหวานเทียบกับจำนวนผู้ป่วยทุกโรคในแต่ละราศีแตกต่างกันหรือไม่ ผลการทดสอบพบว่า ดาวเกตุมีสัดส่วนผู้ป่วยเบาหวานในแต่ละราศีไม่แตกต่างกัน ส่วนดาวอื่น ๆ อีก 9 ดวง คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ ราหู มฤตยู ล้วนมีสัดส่วนผู้ป่วยเบาหวานในแต่ละราศีแตกต่างกัน</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Astrology has three branches: they are the Sun and the planets’ position calculation, prediction, and rite. Ancient Thai astrology calculates the Sun and the planets’ position by Suriyayatra scripture, but prediction follows their doctrine. The statistics for prediction from the Sun and the planets’ position in Zodiac signs are not clearly happened.&nbsp; This study aimed to find the associations of the Sun and the planets’ position at the birth date and Diabetes Mellitus from patients’ record of a district hospital. The Sun and the planets’ position in Zodiac signs were calculated from patients’ birth date, the ratio of number of Diabetes and number of patients from all diseases for each Zodiac sign was computed. The expected number of Diabetes was derived for the Chi square goodness of fit test (significant level 0.05, degree freedoms 11) to judge that for the given the Sun or the planet “the ratio of Diabetes with respect to total number of patients in each sign are not different”. The results showed that only Neptune conforms to the hypothesis, but the Sun, the Moon, Mars, Mercury, Jupiter, Venus, Saturn, Rahu and Uranus were not.</p> 2019-12-17T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/152917 การพัฒนาสื่อแอนิเมชันรณรงค์ปรับเปลี่ยนทัศนคติเยาวชนไทย เพื่อโครงการ “บัณฑิตไทย โตไปไม่โกง” (Development of animated media for adjusting thai youth’s attitude for corruption-free for thai graduates) 2019-12-17T16:33:25+07:00 วันวิสาข์ พรมจีน (Wanwisa Promjeen) wanwisa.promjeen@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;งานวิจัยชิ้นนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการพัฒนาออกแบบสื่อแอนิเมชัน 3 มิติ เพื่อรณรงค์ปรับเปลี่ยนทัศนคติหยุดการทุจริตทางการศึกษา เนื่องจากปัจจุบันเยาวชนสังคมไทยส่วนใหญ่คิดว่าการทุจริตทางการศึกษาเป็นเรื่องที่ไม่ผิด เมื่อเยาวชนมีโอกาสหรือช่องทางในการทุจริตก็จะลงมือกระทำทันทีโดยไม่คำนึงถึงผลเสียที่ตามมา ปัจจุบันจากผลสำรวจการทุจริตในประเทศไทยสถิติเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลเห็นความสำคัญของปัญหา จึงจัดตั้งโครงการ “บัณฑิตไทย โตไปไม่โกง” เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงค่านิยมและวัฒนธรรมของคนไทย ให้รักความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ ไม่เอารัดเอาเปรียบ รังเกียจการโกงและไม่ยอมให้ใครโกง แต่ยังมีข้อด้อยของสื่อที่ยังไม่สามารถดึงดูดความสนใจของกลุ่มเป้าหมายมากพอ จึงศึกษาแนวทางการสร้างสื่อที่เหมาะสมเพื่อนำสื่อมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการรณรงค์และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องต่อปัญหาการทุจริต โดยใช้สื่อแอนิเมชัน3 มิติ ความยาวไม่เกิน 3 นาที จากการศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตทางการศึกษา หลักการทางจิตวิทยาความต้องการของมนุษย์ ค้นคว้าทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบแอนิเมชัน 3 มิติ วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายเพื่อดำเนินการออกแบบ ผู้ชมเป้าหมายนักศึกษาระดับอุดมศึกษาอายุระหว่าง 18-23 ปี พบว่าของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในสื่อแอนิเมชัน 3 มิติ กลุ่มเป้าหมายสามารถตระหนักและมีทัศนคติที่ถูกต้องมากขึ้นเกี่ยวกับการทุจริตทางการศึกษา ทำให้กลุ่มเป้าหมายคำถึงนึงผลเสียที่จะตามมาจนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทุจริตทางการศึกษาได้</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aimed to investigate the development of 3-D animated media for adjusting attitude toward corruption in education. At present, the youth in Thai society think that corruption in education is not wrongdoing. When having a chance for corrupting, they would take it without considering negative effects of doing so. According to the survey results, the statistics of corrupting in Thailand has been continually increasing. As the government has realized such issue, the project called “Corruption-Free for Thai Graduates” is created to make change of value and culture among Thai people. The project could enhance honesty, responsibility and anti-corruption. However, the media used was not attractive to the target group. Therefore, this research investigated a guideline for creating appropriate animated media for campaigning the project and promoting understanding of corruption problems. &nbsp;&nbsp;&nbsp;The 3-minute 3-D animated media was created based on the related literature about corruption in education, psychological principles of human needs and 3-D animation concept and theories. The data obtained from the target group was analyzed to create the animated media. The target audience was university students aged between 18-23 years old. The findings showed that the target group was satisfied with the 3-D animated media and had precise attitude toward corruption in education as well as realizing negative effects which lead to adjusting attitude toward corruption in education.</p> 2019-12-17T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/191857 มุกตลกการเมือง: เนื้อหาและกลวิธีการสร้างอารมณ์ขันในหนังตะลุงเมืองเพชร (Political Joke Of Content And Tactics How To Create Emotional Humour In Shadow Puppets Of Petchaburi Province) 2019-12-18T14:36:34+07:00 สมบัติ สมศรีพลอย (Sombat Somsriploy) puritatdeeprasert@outlook.com บาหยัน อิ่มสำราญ (Bayan Imsamran) bayanimsamran@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเนื้อหาหรือประเด็นทางการเมืองที่นำมาสร้างอารมณ์ขันมุกตลกและกลวิธีสร้างอารมณ์ขันมุกตลกการเมืองในหนังตะลุงเมืองเพชร ผลการศึกษาเนื้อหาหรือประเด็นที่ นำมาสร้างอารมณ์ขันมุกตลกการเมืองนั้น พบว่า มีความหลากหลายสามารถแบ่งเป็น 4 ประเด็น คือ&nbsp; คำพูดนายกรัฐมนตรี&nbsp; ชื่อ-นามสกุลนายกรัฐมนตรี&nbsp; พฤติกรรมนักการเมือง&nbsp; กฎหมายและนโยบาย ส่วนกลวิธีการสร้างอารมณ์ขันมุกตลกการเมืองนั้น แบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือกลวิธีด้านเนื้อหาและกลวิธีด้านภาษา กลวิธีด้านเนื้อหาประกอบด้วย การเสียดสี การล้อคำพูดนักการเมือง การประชดประชัน ความเจ้าเล่ห์เพทุบาย การหักมุม การอ้างถึง การข่มทับ และการผูกเรื่องที่ไม่เกี่ยวกันโดยตรงเข้าด้วยกัน ส่วนกลวิธีด้านภาษาในการสร้างอารมณ์ขันนั้นประกอบด้วย&nbsp; การใช้อุปลักษณ์และการเล่นความหมาย กลวิธีเหล่านี้ส่งผลให้เกิดความไม่เข้ากันอันนำไปสู่การเกิดอารมณ์ขันมุกตลกการเมืองในหนังตะลุ เมืองเพชร&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This objectives of this research were to 1) study political joke of content and strategies how to create emotional humour in shadow puppets of Petchaburi province. The results of this research were devided into 4 issues as following: 1) Prime Minister wording quote 2) Name and surename of Prime Minister 3) Behavioral performance of politicians&nbsp; and 4) Law and Policy&nbsp;&nbsp; And the tactics how to create emotional joke in politic, The results of this research were devided into 2 kinds as following: 1) content&nbsp; strategy: these strategies were satire, parody of politicians’ wording quote, cunning, twisted ending, reference, relate incoherence story to be unity 2) language strategy: these strategies were metaphor, juggle with words. They can start misunderstanding atmosphere which led into creation emotional humour in shadow puppets of Petchaburi province.&nbsp; &nbsp;&nbsp;</p> 2019-12-18T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/197233 แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มในกระบวนการดำเนินธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กเพื่อรองรับ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในจังหวัดสุโขทัยและ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (Guidelines in Value Added Creation for Value chain of Small Hotel Business in response to Aged Society in Sukhothai and Phra Nakhon Si Ayutthaya Province.) 2019-12-18T15:18:19+07:00 สุรศักดิ์ บุญประสิทธิ์ (Surasak Boonprasit) surasak090110@gmail.com ปิยพงศ์ เขตปิยรัตน์ (Piyapong Katpiyarat) surasak090110@gmail.com ชัยณรงค์ ศรีรักษ์ (Chainarong Sriruk) surasak090110@gmail.com อนามัย ดำเนตร (Anamai Damnet) surasak090110@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มในกระบวนการดำเนินธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กเพื่อรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในจังหวัดสุโขทัยและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสานวิธี ประกอบด้วยขั้นตอนที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ขั้นตอนที่ 2 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แนวคำถามสำหรับการสัมภาษณ์เชิงลึก และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยทุกด้านในกระบวนการดำเนินธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าพักของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p value &lt; 0.05) และผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า โรงแรมขนาดเล็กมีข้อจำกัดในเรื่องของเงินทุนในการพัฒนาและปรับปรุงด้านสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับลูกค้าผู้สูงอายุ โรงแรมจึงต้องมุ่งเน้นการพัฒนาการบริการของบุคลากรในโรงแรมให้มีความตระหนักอยู่เสมอว่าจะต้องให้บริการแก่ลูกค้าผู้สูงอายุเป็นลำดับแรก และเป็นการบริการที่ทำด้วยความเต็มใจและใส่ใจในเรื่องต่างๆ อย่างรวดเร็วและสอดคล้องตรงตามความต้องการของลูกค้าผู้สูงอายุ ในขณะเดียวกันควรเร่งหาเงินทุนเพื่อทำการพัฒนาและปรับปรุงสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุเพิ่มเติม เพื่อให้สามารถตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าผู้สูงอายุได้มากขึ้น ซึ่งจะเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กต่อไป</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The objective of this research is to explore the Guidelines in Value Added Creation for Value chain of Small Hotel Business in response to Aged Society in Sukhothai and Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinces. The study used Mixed Methods which consisted of quantitative and qualitative research. The quantitative research instruments were questionnaire and data analysis using multiple regression analysis. As for qualitative research, it used a set of questions for in-depth interviews and data analysis using content analysis. The quantitative research results showed that all factors of the small hotel business operations towards its influence on the decision to stay for elderly tourists were at the significant level of 0.05 (p value &lt;0.05). The qualitative research results showed that small hotels had limitations of funding for the development and improvement of place and facilities for elderly customers. Therefore,&nbsp; the hotel has to focus on the development of the personnel services in the hotel to be always aware that it must provide services to elderly customers first with willingness and care in accordance with the needs of the elderly customers. At the same time, it should seek funding for its further development and improvement of place and facilities for the elderly to be able to meet the needs of the elderly customers, which will increase the competitiveness of the small hotel business.&nbsp;</p> 2019-12-18T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/186255 ดุษฎีนิพนธ์การประพันธ์เพลง: เมนทัล ดิสทอร์ชัน สำหรับวงวินด์ซิมโฟนี (Doctoral Music Composition : “Mental Distortion For Wind Symphony”) 2019-12-12T16:23:52+07:00 นิธิ จันทร์ชมเชย (Nithi Junchomchaey) nithishij@gmail.com ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร (Narongrit Dhamabutra) nithishij@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;บทประพันธ์เพลงดุษฎีนิพนธ์ เมนทัล ดิสทอร์ชัน (Mental Distortion) เป็นบทประพันธ์สำหรับวงวินด์ ซิมโฟนี มีจุดประสงค์ เพื่อนำเสนอลักษณะของโรคทางจิตเวชที่มีสาเหตุมาจากความเครียด ทั้งการแสดงออกด้านอารมณ์และกายภาพ อันมีเอกลักษณะเฉพาะของแต่ละโรค โดยผู้วิจัยได้เลือกโรคทางจิตเวชที่มีการพบมากในปัจจุบัน ได้แก่ โรคซึมเศร้า โรคย้ำคิดย้ำทำ &nbsp;โรคแพนิค และโรคไบโพลาร์</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในการสร้างสรรค์บทประพันธ์นี้ ผู้วิจัยได้ทำการตีความอาการของแต่ละโรคด้วยการใช้วัตถุดิบ และเทคนิคการประพันธ์เพลงร่วมสมัย ผ่านการสร้างสรรค์ของผู้วิจัยเอง เพื่อแสดงออกถึงอาการของแต่ละโรคที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ โดยบทประพันธ์นี้แบ่งออกเป็น 5 กระบวนได้แก่ จิตที่ถูกบิดเบือน ซึมเศร้า กดดัน ตระหนก และแปรปรวน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จากการสร้างสรรค์บทประพันธ์เพลงเมนทัล ดิสทอร์ชัน สำหรับวงวินด์ซิมโฟนี ผู้วิจัยได้บทประพันธ์ดนตรีตะวันตกร่วมสมัยในลักษณะดนตรีพรรณาที่มีการแสดงออกถึงเอกลักษณ์เฉพาะของโรคทางจิตเวชที่มีสาเหตุจากความเครียด</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The doctoral composition "Mental Distortion" is a composition for wind symphony that intends to present the characteristics of mental disorders which caused by stress. The piece focuses on uniques of mental disorder's expression both physical and emotional that could be found regularly in modern times which are Major Depressive Disorder, Obsessive Compulsive Disorder, Panic and Bipolar Disorder.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; To compose this piece, the researcher interpreted each mental disorder symptom by using materials and contemporary compositional techniques in order to express specifically. The interpretation transforms into 5 movements which are Mental distortion, Depressive, Pressuring, Panic and Indeterminate.&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; According to music composing process, the composition is a program music for wind symphony that represents the character of the selected mental disorders.</p> 2019-12-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/185192 แนวทางการกำหนดเส้นทางจักรยานออกกำลังกาย สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ 84 (ทุ่งท่าลาด) อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช (Bicycle Route Potential for Exercise at Somdej-phra-srinagarindra 84 Park (Thung-thalad) Mueang, Nakhon Si Thammarat) 2019-12-18T16:14:16+07:00 นันท์นภัส เพชรคงทอง (Nannaphat Phetkongtong) nannappy@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สวนสาธารณะพื้นที่สำหรับทุกคน พื้นที่ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี พื้นที่เพื่อสุขภาพ พื้นที่เพื่อสังคม บทความนี้ต้องการยกระดับสวนสาธารณะที่มีให้สมบูรณ์และตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ โดยค้นหาวิธีการกำหนดเส้นทางจักรยานเพื่อการออกกำลังกาย ในพื้นที่สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ 84 (ทุ่งท่าลาด) อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นสวนสาธารณะระดับเมืองของจังหวัด จากการศึกษาข้อมูลจากเอกสาร และการสำรวจลักษณะกายภาพเส้นทางทั้งหมดภายในสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ 84 (ทุ่งท่าลาด) ซึ่งแบ่งเป็นการประเมินด้านลักษณะเส้นทาง และด้านคุณภาพเส้นทาง พบว่า สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ 84 (ทุ่งท่าลาด) มีความเป็นไปได้ 3 เส้นทาง เส้นทางจักรยานควรทำในลักษณะวงรอบ (loop) ช่วงระยะทาง 3 – 6 กม.ต่อรอบ เชื่อมโยงกับทางเข้า-ออก เลือกเส้นทางที่มีความตรง หลีกเลี่ยงเส้นทางที่มีกิจกรรมขายของในช่วงเย็น สามารถเลือกใช้รูปแบบทางจักรยานได้ แบบใช้พื้นที่ร่วมกับรถยนต์ (Shared Roadway) หรือทางจักรยานแบบแบ่งพื้นที่สำหรับจักรยาน (Bicycle Lane) ได้ และควรปรับปรุงให้มีองค์ประกอบทางกายภาพสนับสนุนการใช้งานเส้นทางจักรยานเพื่อความสะดวกปลอดภัย ได้แก่ ไฟส่องสว่าง ป้ายและสัญลักษณ์สำหรับจักรยาน ที่จอดจักรยาน ร้านขายอุปกรณ์และให้บริการซ่อมจักรยาน อุปกรณ์เติมลมยาง จุดบริการห้องน้ำสาธารณะ และการเข้าถึงของรถบริการสาธารณะ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; Public park is an area for everyone. An area that promotes a good quality of life, health, and social space. This article aimed to improve the public park to be completed and meet the needs of users. By study the guideline to determine the bicycle route for exercise at Somdej-phra-srinagarindra 84 Park (Thung-thalad) in Mueang, Nakhon Si Thammarat, which is the city park.&nbsp; The data was collected from analyzed documents and physical path surveyed in Somdej-phra-srinagarindra 84 Park (Thung-thalad).&nbsp; The evaluation from the route characteristics and the quality of the route found that 3 possible routes in Somdej-phra-srinagarindra 84 Park (Thung-thalad).&nbsp; The bicycle route should be a loop and linked to the entrance. The distance per loop is about&nbsp; 3 - 6 kilometers. The bicycle path should be a straight and avoided routes that have many kiosks in the evening.&nbsp; Furturemore, it should be shared roadways or bicycle lanes. And should improve the physical elements to support the use of bicycle routes for safety, including lighting, signs for bicycles, bicycle parking, equipment shop, bicycle service, public toilet and access to public service vehicles.</p> 2019-12-18T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/199726 การพัฒนาหนังสือภาษามือไทย เรื่อง ขนมไทยสำหรับนักศึกษาที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยิน สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ (A Development Of Thai Sign Language Book On Thai Dessert For Students With Hearing Impairment Major In Home Economics) 2019-12-18T16:41:20+07:00 อนุชา ภูมิสิทธิพร (Anucha Phoommisittiporn) anuchaphoom@gmail.com วันทนา สวนเศรษฐ (Wantana Suonsed) anuchaphoom@gmail.com บุญล้อม ด้วงวิเศษ (Boonlom Duangwiset) anuchaphoom@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาหนังสือภาษามือไทย เรื่อง ขนมไทยฯ 2) เพื่อพัฒนาหนังสือภาษามือไทย เรื่อง ขนมไทยฯ 3) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยหนังสือภาษามือไทย เรื่อง ขนมไทยฯ และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ที่มีต่อการเรียนโดยใช้หนังสือภาษามือไทย เรื่อง ขนมไทย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่ศึกษาในสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 12 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) หนังสือภาษามือไทย&nbsp; 2) แผนการสอนภาษามือไทย 3) แบบทดสอบภาษามือไทย และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) การหาค่ามัธยฐาน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบตามวิธีที่เสนอโดยวิลคอกซัน (The Wilcoxon Matched Pairs Signed – Ranks Test) แบบแผนการวิจัยใช้แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังทดลอง (One Group Pretest - Posttest Design)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษา สรุปได้ดังนี้ 1) ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานพบว่า องค์ประกอบของหนังสือภาษามือไทย เรื่อง ขนมไทย ประกอบด้วย เนื้อหาหรือคำศัพท์ขนมไทย ท่าภาษามือไทย และรูปภาพประกอบ โดยมีจำนวนคำศัพท์ขนมไทย ทั้งสิ้น 52 คำ 2) ผลการพัฒนาหนังสือภาษามือไทยฯ พบว่า 2.1) ผลการตรวจสอบคุณภาพระดับความเหมาะสมของหนังสือภาษามือไทย โดยรวมทั้งฉบับ อยู่ในระดับมากที่สุด 2.2) ผลการตรวจสอบคุณภาพระดับความเหมาะสมของแผนการสอนภาษามือไทย โดยรวมทั้งฉบับ อยู่ในระดับมากที่สุด และ 2.3) ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบภาษามือไทย ทุกข้อมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80-1.00 3) ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยหนังสือภาษามือไทย เรื่อง ขนมไทย สำหรับนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ พบว่า 3.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยหนังสือภาษา&nbsp; &nbsp; &nbsp; มือไทย ก่อนการทดลองมีช่วงคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อยู่ในระดับปรับปรุง หลังการทดลองมีช่วงคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับดีมาก และ 3.2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยหนังสือภาษามือไทย หลังการทดลองมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ต่อหนังสือภาษามือไทย เรื่อง ขนมไทย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุดทุกรายการ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purposes of this research were 1) study basic information on developing of Thai Sign Language Book on Thai Dessert 2) to develop the Thai Sign Language Book on Thai Dessert 3) to study learning achievement on Thai Sign Language Book on Thai Dessert And 4) to study the satisfaction of the Students with Hearing Impairment on the Thai Sign Language Book on Thai Dessert. Subjects were 12 Students with Hearing Impairment major in Home Economics, Pibulsongkram Rajabhat University, in the first semester, 2018 academic year. The instruments used in this study were as follows: Thai Sign Language Book, lesson plan, an achievement test and students’ satisfaction evaluation form. Data was analyzed by median, average, standard deviation and Contents analysis and the Wilcoxon Matched Pairs Signed Ranks Test. The design of this research was a one group pretest-posttest design. The research findings were: 1) Thai Sign Language Book on Thai Dessert consists of 3 components: content, pictures, and sign language. 2)The Thai Sign Language Book and lesson plan was at high level of appropriateness, an achievement test was appropriate and consistent with the correspondence index of 0.80-1.00 3) The posttest achievement scores after using Thai Sign Language Book was higher than pretest scores, The average posttest learner achievement scores higher than the average pretest scores are statistically significant at .05. 4) Students with Hearing Impairment were satisfied with the Thai Sign Language Book at the “Highest” level.</p> 2019-12-18T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/160112 Thai EFL Students’ Perceptions toward Learning English Descriptive Paragraph Writing through Problem-Based Learning 2019-12-25T09:18:50+07:00 Abadee Cheadae kapook22_50@hotmail.com Somruedee Khongput kapook22_50@hotmail.com <p class="Abstract">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The current study aims to investigate Matthayomsuksa 6 students<span lang="TH">’ </span>perceptions toward learning English descriptive paragraph writing through problem<span lang="TH">-</span>based learning <span lang="TH">(</span>PBL<span lang="TH">) </span>approach<span lang="TH">. </span>The participants of this study were 40 participants at a school in Yala<span lang="TH">. </span>They were assigned to solve a problem in groups. The problem to be solved was about writing a descriptive paragraph. The research instruments included questionnaire and semi<span lang="TH">-</span>structured interview<span lang="TH">. </span>The quantitative data from the questionnaire were analyzed for arithmetic mean and interpreted using descriptive analysis<span lang="TH">. </span>The qualitative data from the semi<span lang="TH">-</span>structured interview were analyzed using content analysis<span lang="TH">. </span>The results revealed that the participants had good perceptions toward learning descriptive paragraph writing through PBL approach <span lang="TH">(</span><span style="color: black;">x</span><span style="font-family: 'Arial','sans-serif'; color: black;">̅</span><span lang="TH">=</span>3<span lang="TH">.</span>45<span lang="TH">). </span>When considering each domain, the results revealed that the most highly rated domain was knowledge gained and writing improvement <span lang="TH">(</span><span style="color: black;">x</span><span style="font-family: 'Arial','sans-serif'; color: black;">̅</span><span lang="TH">=</span>3<span lang="TH">.</span>54<span lang="TH">). </span>The least rated domain were identical, self<span lang="TH">-</span>study and working in group <span lang="TH">(</span><span style="color: black;">x</span><span style="font-family: 'Arial','sans-serif'; color: black;">̅</span><span lang="TH">=</span>3<span lang="TH">.</span>40<span lang="TH">). </span>The open<span lang="TH">-</span>ended questions and semi<span lang="TH">-</span>structured interview results revealed that the students had mixed perceptions toward PBL<span lang="TH">. </span>The students perceived that PBL was not only helpful for developing their writing ability but also communicative and cooperative learning skills since PBL offered them an opportunity to exchange their different knowledge with their peers through group discussion and focused tasks with facilitation of the teacher<span lang="TH">. </span>However, some negative perceptions were discovered<span lang="TH">. </span>Some students found that time allocation provided by the teacher was not adequate to complete their task, and the problem and the handouts were too difficult for them as PBL was likely a new writing concept for the students<span lang="TH">. </span>In addition, differences English proficiency of members in a group affected their learning outcomes<span lang="TH">. </span>The findings suggest that PBL can be implemented to develop Thai EFL students<span lang="TH">’ </span>English descriptive writing ability with careful considerations of involving factors<span lang="TH">. </span></p> 2019-12-17T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/199280 “ไทดำ” ชาติพันธุ์ร่วมสมัย (“Tai Dam” Contemporary Ethnic) 2019-12-19T15:32:19+07:00 อารีย์ น้ำใจดี (Aree Namjaidee) aree8400@gmail.com พิชญาภา ยืนยาว (Pitchayapa Yuenyaw) pitchayapa@npru.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ไทดำเป็นกลุ่มชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย ที่เคยตั้งถิ่นฐานที่เวียดนามโดยอาศัยอยู่ตามแม่น้ำแดงและแม่น้ำดำในเวียดนามเหนือ และได้อพยพย้ายถิ่นฐานมาประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2423 ซึ่งเป็น คนไทยที่รู้จักกันในนาม “ไทดำ” หรือ “ลาวโซ่ง” ในปัจจุบันมีกลุ่มชาติพันธุ์ไทดำ จำนวนกว่า 90 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในดินแดนของชาติอื่น ซึ่งจำแนกได้ถึง 80 กลุ่ม ชาติพันธุ์ไทดำพบได้ใน 4 ประเทศ ได้แก่ จีน ลาว ไทย และเวียดนามตะวันออกเฉียงเหนือ พวกเขาเชื่อว่าบรรพบุรุษของพวกเขาเกิดขึ้นในภูมิภาคสิบสองจุไทซึ่งเป็นบ้านเกิดของชาวไทดำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอพยพไปยังประเทศอื่นๆ เนื่องจากเกิดความขัดแย้ง หรือย้ายถิ่นฐานไปยังดินแดนที่อุดมสมบูรณ์มากขึ้น ท่ามกลางการอนุรักษ์แบบดั้งเดิมของชาวไทดำปัจจุบัน กลุ่มชาติพันธุ์ไทดำที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยต้องการให้เรียกว่าพวกเขาว่า “ไทดำ” มากกว่า “ลาวโซ่ง” วิถีชีวิตภาษาถิ่นวัฒนธรรมและประเพณีของพวกเขาได้รับอิทธิพลบางส่วนจากศาสนาพุทธ แต่ประเพณีและความเชื่อดั้งเดิมทั้งหมดยังคงได้รับการอนุรักษ์ไว้&nbsp; ในบางประเทศมีข้อจำกัดในการแสดงออกของอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของไทดำในพื้นที่สาธารณะ ทำให้ชาวไทดำจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนหรือเปลี่ยนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติพันธุ์ตนเอง โดยที่ชาวไทดำได้ยอมรับวัฒนธรรมของชาวไทยที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย เคารพสิทธิ ประเพณี วัฒนธรรม ยอมรับและปฏิบัติตามโดยไม่สูญเสียความเป็นตัวตน เช่นเดียวกับที่สังคมชาวไทยและกลุ่มชาติพันธุ์ไทดำต่างยอมรับในความแตกต่างซึ่งกันและกัน ทั้งชาวไทยและชาวไทดำจึงสามารถดำรงชีวิตร่วมกันได้อย่างมีความสุข &nbsp;ทำให้กลุ่มชาติพันธุ์ไทดำยังคงไว้ซึ่งความเป็นตัวตนในสังคมของความเปลี่ยนแปลงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The&nbsp;Tai Dam&nbsp;are a minority group that reside within&nbsp;Thailand. These settlers were once Vietnamese who lived along the Red and Black River of northern Vietnam. In the 1880’s a group Vietnamese fled to Thailand. They are Thais known as “Tai Dam” or “Lao Song”. At present, some 90 million ethnic Tai Dam people live across the region, and can be divided into 80 groups.&nbsp; The&nbsp; ethnic&nbsp; Tai&nbsp; Dam&nbsp; group&nbsp; is&nbsp; found&nbsp; in&nbsp; four&nbsp; countries:&nbsp; China,&nbsp; Laos,&nbsp; Thailand,&nbsp; and&nbsp; northeastern&nbsp; Vietnam.&nbsp; They&nbsp; believe&nbsp; that&nbsp; their&nbsp; ancestors&nbsp; originated&nbsp; in&nbsp; Sipsongchuthai&nbsp; Region,&nbsp; the&nbsp; homeland&nbsp; of&nbsp; the&nbsp; Tai Dam peoples in Southeast Asia and migrated to other countries due to conflicts or in search of better and more fertile land on which to settle. Amidst the traditional conservation of the Tai Dam people, the Tai Dam in Thailand now want to be called Tai Dam rather than Lao Song. Their way of life, dialect, culture and traditions are partially influenced by Buddhism, but all the original traditions and beliefs have been preserved. Therefore, State restrictions on the expression of ethnic identity in public spaces has made it necessary to select, receive, adapt, or change ethnic cultural symbols. Tai Dam are able to adapt their life style during Thai’ s culture in every era by respecting the human rights, traditions, and culture without losing their ethnical identity. While Thai society and Tai Dam ethnic groups can accept each other's differences. Both Thai and Tai Dam people can live happily together. Therefore, Tai Dam still maintains their identity during the society change from past to present.</p> 2019-12-19T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/203421 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหัวหน้างานสายการผลิต เพื่อเทียบโอนความรู้และประสบการณ์สู่คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล (The Development of Assembly Line Supervisor’s Competency – based Curricula for Transferring Knowledge and Experience to Vocational Education QualiÞcation in Seafood Processing Industry) 2019-12-19T16:14:53+07:00 อุทุมพร อินทจักร์ (Authumporn Intachak) autump_int@hotmail.com อนุชัย รามวรังกูร (Anuchai Ramwarungkura) feduacrk@ku.ac.th นลินรัตน์ รักกุศล (Nalinrat Rakkusol) fedunrr@ku.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;รายงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการฝึกอบรมตามสมรรถนะหัวหน้างานสายการผลิตเพื่อเทียบโอนคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ 2) พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหัวหน้างานสายการผลิตเพื่อเทียบโอนคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพและ 3) กำหนดการเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์ของ ผู้ผ่านหลักสูตรฐานสมรรถนะหัวหน้างานสายการผลิตกับคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ</p> <p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>ผลการศึกษาพบว่าความต้องการฝึกอบรมของหัวหน้างานตามสมรรถนะประกอบด้วย11สมรรถนะหลัก 14 สมรรถนะการบริหารจัดการ 13 สมรรถนะการปฏิบัติงานของหัวหน้างานบำรุงรักษา เครื่องจักรกลและระบบไฟฟ้า และ 13 สมรรถนะการปฏิบัติงานหัวหน้างานการแปรรูป ในการพัฒนาหลัก สูตรฐานสมรรถนะของการพัฒนาหัวหน้างานสายการผลิตของสมรรถนะการบริหารจัดการแบ่งออกเป็น 4 หลักสูตร ได้แก่ 1) บริหารจัดการเพื่อความปลอดภัย ในการทำงาน จำนวน 60 ชั่วโมง 2) พัฒนาองค์กร อย่างมีคุณภาพ จำนวน 48 ชั่วโมง 3) การพัฒนาการทำงานเป็นทีม จำนวน 36 ชั่วโมง และ 4) การ สื่อสารเพื่อการวิเคราะห์ จำนวน 36 ชั่วโมง ในหลักสูตรฐานสมรรถนะการปฏิบัติงานของหัวหน้างานบำรุง รักษาเครื่องจักรกลและระบบไฟฟ้า แบ่งออก เป็น 3 หลักสูตร ได้แก่ 1)&nbsp; วิเคราะห์การทำงานของเครื่องจักร กล และวงจรไฟฟ้า จำนวน 60 ชั่วโมง 2)&nbsp; ทดสอบและกำกับตรวจสอบเครื่องจักรกลและระบบไฟฟ้าจำนวน 48 ชั่วโมง และ 3) ซ่อมบำรุงเชิงป้องกันด้านเครื่องจักรกลและระบบไฟฟ้า จำนวน 48 ชั่วโมง ส่วน หลักสูตรฐานสมรรถนะการปฏิบัติงานของหัวหน้างานการแปรรูปแบ่งออกเป็น 3&nbsp; หลักสูตรได้แก่&nbsp; 1) วางแผน และจัดการสัตว์น้ำของการแปรรูปอาหาร จำนวน 60 ชั่วโมง 2) ควบคุมคุณภาพการผลิตและบรรจุหีบห่อ จำนวน 48 ชั่วโมง และ 3) บริหารงานคุณภาพ และจัดการต้นทุนการผลิต จำนวน 48 ชั่วโมงและในการกำหนดการเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์พบว่าหลักสูตรฐานสมรรถนะ การบริหารจัดการ เทียบโอนได้จำนวน 22 หน่วยกิต ในส่วนของหลักสูตรฐานสมรรถนะการปฏิบัติงานของหัวหน้างานบำรุงรักษาเครื่องจักรกลและระบบไฟฟ้าเทียบโอนได้จำนวน 23 หน่วยกิต และหลักสูตรฐานสมรรถนะการปฏิบัติ งานของหัวหน้างานการแปรรูปเทียบโอนได้จำนวน 30 หน่วยกิต และหากมีประสบการณ์การทำงาน มากกว่า 2 ปี และมากกว่า 3 ปี และมากกว่า 4 ปี เทียบโอนได้จำนวน 2, 3 และ 4 หน่วย กิตตามลำดับ โดยการประเมินผลประสบการณ์การทำงานเพื่อการกำหนดหน่วยกิตพิจารณาจากแฟ้มสะสมงานของแต่ ละบุคคล</p> <p>&nbsp;</p> <p>The objectives of this research were to 1) study competency-based trainingneeds of assembly line supervisors for transferring knowledge and experience to vocational education qualiÞcation 2) develop the competency-based curricula and 3) identify transferring knowledge and experience of supervisor who attended the competency based curriculum to vocational education qualiÞcation.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research Þnding showed that the competency-based training needs of assembly line supervisors consist of 11 core competencies 14 managerial competencies 13 functional competencies of machine and electrical maintenance supervisor and 13 functional competencies of processing supervisor. The development of competency-based curriculum for assembly line supervisors to develop managerial competencies divided in 4 modules 1) work safety management 60 hours 2) organization development by quality 48 hours 3) team work development 36 hours and 4) communication for analysis 36 hours. The competency-based curriculum for machine and electrical maintenance supervisor to develop functional competencies divided in 3 modules 1) analysis of machine operation and electric circuit 60 hours 2) testing and monitoring machine and electrical system 48 hours and 3) preventive maintenance for machine and electrical system 48 hours. The competency-based curriculum for processing supervisor to develop functional competencies divided in 3 modules 1) planning and managing aquatic animals for food processing 60 hours 2) quality control in manufacturing and packaging 48 hours and 3) quality management and production cost management 48 hours. Identifying the&nbsp; transferring&nbsp; knowledge and experience of supervisor who attended the competency based curriculum to vocational education qualiÞcation showed that the supervisor who attend the competency-based curriculum for developing managerial competencies could transfer knowledge to vocational education qualiÞcation 22 credits, the competency-based curriculum for developing functional competencies of machine and electrical maintenance supervisor 23 credits andthe competency-based curriculum for developing functional competencies of processing supervisor 30 credits. If the supervisor with 2, 3 or more than 4 years’ experience could transfer to 2, 3 or 4 credits respectively in vocational education qualiÞcation by experience assessment for identifying credits and considering individual portfolio.</p> 2019-12-19T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/192653 การศึกษาการตอบสนองของชุมชนต่อการใช้จิตรกรรมฝาผนังเพื่ออนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมกรณีศึกษา: ชุมชนรอบโรงไฟฟ้า แม่เมาะ (The Collaborate created Mural Painting from The History of MeaMoh in MaeMoh District, Lampang Province with EGAT MaeMoh.) 2019-12-24T09:17:28+07:00 สิริรัญญา ณ เชียงใหม่ (Sirirunya na Chiangmai) sirirunya.na.chiangmai@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวาดภาพจิตรกรรมฝาผนังทางประวัติศาสตร์แม่เมาะ ณ ตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ซึ่ง นางสาวสิริรัญญา ณ เชียงใหม่ เป็นหัวหน้าโครงการได้รับทุนวิจัยจาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย แม่เมาะ ในโครงการวิจัยชื่อเรื่อง “การศึกษาการตอบสนองของชุมชนต่อการใช้จิตรกรรมฝาผนังเพื่ออนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม – กรณีศึกษาชุมชนรอบโรงไฟฟ้า แม่เมาะ” โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่นของชุมชน 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการตอบสนองของชุมชนที่มีต่องานศิลปะที่ใช้เป็นเครื่องมือในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น 3) ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านศิลปะด้วยกระบวนการและการมีส่วนร่วมกับชุมชน 4) เพื่อเผยแพร่ผลงานจิตรกรรมฝาผนังและการทำกิจกรรมศิลปะของชุมชนรอบพื้นที่ กฟผ.แม่เมาะ ให้สาธารณะชนได้ทราบถึงการสนับสนุนของ กฟผ.แม่เมาะ และผลของแบบสอบถามในการศึกษาโครงการวิจัยฯสามารถสรุปผลได้ว่าภาพวาดจิตรกรรมฝาผนังประวัติศาสตร์แม่เมาะสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของชุมชนด้วยการทำงานแบบมีส่วนร่วมทางด้านศิลปะส่งผลให้เกิดความรู้สึกในเชิงบวกมากขึ้น อีกทั้งชุมชนยังได้แสดงเจตนารมณ์อย่างชัดเจนเพื่อสานต่อความรู้ที่ได้รับเพื่อนำไปพัฒนาชุมชนของตนเองต่อไปในอนาคต</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในส่วนของการวาดภาพจิตรกรรมฝาผนังในตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง นั้น ทุกๆขั้นตอน ชุมชนจะมีส่วนร่วมโดยตลอดตั้งแต่การทำประชาพิจารณ์ การทำภาพร่างไปจนถึงกระบวนการทำกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสรุปผลการทำงาน ซึ่งการทำกิจกรรมการเรียนรู้จะมุ่งเน้นที่การส่งเสริมทักษะทางศิลปะและส่งเสริมความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ของแม่เมาะควบคู่ไปพร้อมกัน โดยใช้วิธีการการมีส่วนร่วมแบบสองกระบวนการคือ กระบวนการแรกเป็นการสอนขณะกำลังวาดภาพจิตรกรรมฝาผนังและกระบวนการที่สองเป็นการสอนหลังวาดภาพจิตรกรรมฝาผนัง ผลของกระบวนการที่เกิดขึ้นทำให้เยาวชนในชุมชนและผู้คนในชุมชนได้รับความรู้ทั้งในด้านทักษะทางศิลปะ และความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์แม่เมาะ โดยมีผลงานศิลปะที่สร้างสรรค์ขึ้นจากการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ในอีกทางหนึ่งได้มีการจัดทำหนังสือแจกฟรีเพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางด้านประวัติศาสตร์แม่เมาะ ผลตอบรับจากชุมชนหลังจากจบงานวิจัยที่น่าสนใจมากที่สุดคือ การได้รับความไว้วางใจให้วาดภาพจิตรกรรมฝาผนังเพิ่มเติมในศาลาประชาคมเมาะหลวง หมู่8 ตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ทำให้เห็นถึงการแสดงเจตนารมณ์ของชุมชนอย่างชัดเจนที่ต้องการจะสืบสานการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมชุมชนผ่านการวาดภาพจิตรกรรมฝาผนังเพื่อให้ชนรุ่นหลังได้สืบทอดต่อไป</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สิ่งสำคัญที่สุดของการวาดภาพจิตรกรรมฝาผนังประวัติศาสตร์แม่เมาะนั้นไม่ใช่ข้อมูลทางประวัติศาสตร์กับภาพวาดจิตรกรรมฝาผนังเพียงอย่างเดียวแต่เป็นการค้นหาและการสร้างวิธีการกระบวนการการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อนำไปสู่การร่วมมือกันอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของชุมชนไปสู่รุ่นลูกและรุ่นหลานให้ตระหนักถึงความสำคัญในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมที่ดีงามมีเอกลักษณ์เฉพาะของชุมชน หากไร้ซึ่งผู้สืบทอดในประวัติศาสตร์ใดๆนั้น ก็จะสูญสิ้นไปอย่างแน่นอน เมื่อประวัติศาสตร์บ่งบอกความเป็นอารยธรรมของมนุษย์ ศิลปะก็เป็นสัญลักษณ์ของการแสดงตนให้เห็นถึงภูมิปัญญาที่โดดเด่นเฉพาะตัวของมนุษย์ด้วยเช่นเดียวกันการมองเห็นคุณค่าต่อสิ่งที่ควรได้รับการดูแลและรักษาให้คงอยู่คือประวัติศาสตร์ดั้งเดิมของมนุษย์ให้คงอยู่สืบไปอย่างยาวนาน</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The history of Mae Moh mural painting in the Mae Moh sub district, Mae Moh district, Lampang Province to get a scholarship from EGAT. Mae Moh (Electricity Generating Authority of Thailand). The project name “The study of the community responses to use mural painting for the conservation and development of the traditional art and culture a case study the community around EGAT Mae Moh.” This study is conducted with 4 objectives 1) To study art and culture of local traditions. 2) To study the behavioral response of the community to using art through preserving art and culture. 3) To convey body art of knowledge through the process and collaboration with the community. 4) To disseminate mural painting and art activities of the community around EGAT Mae Moh to let the public know the support came from EGAT Mae Moh. Moreover, the result of a research questionnaire found that it can change the behavior of the community by art collaboration to affect the more positive feeling, and also the community expressing to keep on developing the body art of knowledge in the future.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; In the part of mural painting in the Mae Moh sub district, Mae Moh district, Lampang Province that every processed with the community has been thoroughly participated to take public hearing, to apply sketch drawing, and doing all of art activities processed to summarize all of the work. The activity learning focused on to give support both of the artistic skill and allowed the history of Mae Moh learning together by using the methodology of collaboration with the community which are two processes, the first process is teaching while painted on the mural and the second process is taught after finishing mural painting. The result of the process makes youth of the community to get art skill, knowledge and learning the history of Mea Moh by creating the work of art from the art activity process learning. On the other hand, there has been published the book history of Mea Moh to give freely to the community. The most interesting consequence of research has always been a reliable from the community to take more the new job mural painting in the community hall of section 8 Moh Loung Mae Moh sub district, Mae Moh district, Lampang Province. Thus, it clearly expresses of the community that they want to continue preserving the art and culture of the community through mural painting to young generation inheritance.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The most important things about the history of Mae Moh Mural Painting that not only the information about the history and mural painting, but also to explore and create the methodology participation in the community, lead to collaborative preservation traditional art and culture of the community to inherit young generation would be realize the importance value of the art and culture that the uniqueness of the community. If it is without inheritor in any history will certainly be extinct forever. As the history indicates of human civilization, the art also an individual symbol striking intellectual of a human as well. To see the value of something must be maintained and preserved is the traditional history of humanity to remain for a long time.</p> 2019-12-24T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/192677 แนวทางการทำงานร่วมกันในการสร้างสรรค์งานศิลปะแนวนิวมีเดียอาร์ตจากเรื่องเล่าประวัติศาสตร์แม่เมาะในชุมชนตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง (Guidelines for the Collaboration to the creation of new media art from the history of Mae Moh in the community of Mae Moh District, Lampang Province) 2019-12-24T09:23:47+07:00 สิริรัญญา ณ เชียงใหม่ (Sirirunya na Chiangmai) sirirunya.na.chiangmai@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;สืบเนื่องจากการเริ่มต้นวาดภาพจิตรกรรมฝาผนังทางประวัติศาสตร์แม่เมาะ ณ ตำบลแม่เมาะ&nbsp; อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง เกิดขึ้นมาจากการเริ่มต้นศึกษาประวัติศาสตร์แม่เมาะเพื่อสร้างผลงานระดับปริญญาเอกและต่อยอดมาจนถึงการได้รับทุนวิจัยจาก กฟผ.แม่เมาะ โดย นางสาวสิริรัญญา ณ เชียงใหม่ เป็นหัวหน้าโครงการ ซึ่งในเวลานี้ยังคงมีงานด้านศิลปะของแม่เมาะเข้ามาอย่างต่อเนื่องที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยหรือการเรียนในวิชาใด นับได้ว่าเป็นการค้นพบพื้นที่แห่งการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่เปิดกว้างและผู้คนต่างให้ความสนใจเป็นอย่างมาก</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในปัจจุบันอิทธิพลความเชื่อและความงามทางศิลปะมีผลต่อความคิดของผู้คนไม่เว้นแม้กระทั่งในพื้นที่ที่กล่าวถึงนี้คือ บ้านเมาะหลวง ตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ที่ยังคงมีความเชื่อเคารพรักและศรัทธาต่อพุทธศาสนาและบรรพบุรุษของตนเอง เป็นความเชื่อที่ควบคู่กันไปแบบชาวล้านนาและกลุ่มชาติพันธ์ที่มาตั้งรกรากในพื้นที่แห่งนี้เช่น ชาวไทใหญ่ ชาวเงี้ยว ชาวพม่า ชาวจีนและชาวมอญเป็นต้น แต่เดิมนั้นในอดีตผลงานศิลปะในตำบลแม่เมาะส่วนใหญ่จะพบเห็นได้จากวัดตามโบสถ์หรือวิหารที่มีการวาดภาพจิตรกรรมฝาผนังอยู่ภายใน ด้วยความเชื่อทางพุทธศาสนาของชาวไทยที่มีมาแต่ช้านาน ภาพวาดจิตรกรรมฝาผนังจึงเป็นทั้งแหล่งเรียนรู้และเป็นที่เผยแพร่ความเคารพศรัทธาของพุทธศาสนิกชนที่มีต่อพุทธศาสนารวมถึงชาวแม่เมาะด้วย บางครั้งภาพวาดงานจิตรกรรมจะอยู่ในวัตถุที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาในกรณีอื่นด้วยเช่น พระที่นั่ง ตู้พระคัมภีร์ ฯลฯ ซึ่งล้วนแล้วจะอยู่ในลักษณะที่เกี่ยวข้องกับงานชั้นสูงมากกว่าที่จะนำมาตกแต่งบนอาคารบ้านเรือนหรือตกแต่งประดับสวนของคนทั่วไป ด้วยเรื่องราวงานจิตรกรรมไทยบนฝาผนังนั้นเป็นเรื่องของพุทธศาสนาจึงไม่ควรนำมาอยู่ร่วมกับสิ่งของใช้ทั่วไปอย่างเด็ดขาด ชาวแม่เมาะเองก็มีความเชื่อตามขนบดั้งเดิมนี้เช่นเดียวกัน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อกาลเวลาเปลี่ยนแปลงไปศิลปะตะวันตกสมัยใหม่ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อความคิดคนไทยโดยเฉพาะแนวคิดการสร้างผลงานศิลปะตามแบบฉบับประเพณีดั้งเดิมของไทยก็ได้ปรับเปลี่ยนสู่แนวคิดศิลปะแนวตะวันตก เช่น การวาดภาพแบบมีทัศนมิติหรือการใช้วัตถุธาตุสีที่มีลักษณะดูเข้มข้นคล้ายสีอคริลิคหรือสีน้ำมันมากกว่าจะใช้สีบางละมุนอ่อนโยน หรือเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้เข้ามามีบทบาทต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ก็ทำให้รูปแบบทางศิลปะมีการปรับเปลี่ยนนำเอาเทคโนโลยีต่างๆมาใช้ร่วมกับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะมากขึ้น</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ทั้งนี้จากการศึกษาข้อมูลถึงบทบาทของศิลปะที่ใช้เทคโนโลยีมาเกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในตำบลแม่เมาะนั้น ได้เคยถูกใช้ในลักษณะต่างๆมาบ้างแล้วเช่น การฉายภาพเคลื่อนไหวในสื่อการเรียนการสอน การใช้โปรแกรมพื้นฐานต่างๆเพื่อวาดภาพคอมพิวเตอร์ และในส่วนของวิจัยที่เคยถูกใช้ในลักษณะอื่นๆคือ การถ่ายทอดภาพประวัติศาสตร์แม่เมาะเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังแบบเคลื่อนไหวเป็นต้น</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การคาดคะเนถึงกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะแนวนิวมีเดียอาร์ตจากประวัติศาสตร์แม่เมาะจะอยู่บนพื้นฐานของประสบการณ์ทางศิลปะของชาวแม่เมาะโดยการนำเอากระบวนการใช้เทคโนโลยีทางศิลปะเข้ามาเกี่ยวข้อง ดังนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นในบทความฉบับนี้จึงไม่ใช่แค่การเล่าว่าประวัติศาสตร์แม่เมาะมีที่มาเป็นอย่างไรแต่เป็นการอธิบายแนวทางความเป็นไปได้ในอนาคตถึงความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะแนวมีเดียอาร์ตร่วมกันระหว่าง ศิลปิน กับ ผู้คนและองค์กร ภายใต้ข้อแม้การสร้างสรรค์ผลงานนิวมีเดียอาร์ตนั้นต้องมีการนำเอาข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์แม่เมาะต่างๆที่เคยศึกษามาเพื่อพัฒนาชุมชนในตำบลแม่เมาะด้านการใช้ศิลปะและเทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; According to start a history of the Mae Moh mural painting in Mae Moh sub district, Mae Moh district, Lampang Province. From the beginning study the history of Mae Moh to create the work of Doctorate degree and continued to receive research funded from EGAT. Mae Moh (Electricity Generating Authority of Thailand). Presently, there is a job art of Mea Moh irrelevant any research or any subject study. It’s an area of creativity the work of art to open widely and the people are paying attention a lot.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Currently, the influences of belief and beauty of art have affected the mind of though the people not even when mentioned this area of the Moh Loung community of the Mae Moh sub district, Mae Moh district, Lampang Province, there is still belief to respect and faith in Buddhism and their own ancestor. It is a parallel belief of Lanna people and ethnic groups who settled in this area such as Shan or Tai Yai, Myanmar, Chinese and Mon etc. In the past, the most work of art in the Mae Moh sub district could see from the Ubosot temple inside, there are many mural paintings. Similarly, the belief of Thai Buddhist for a long time, mural painting is a place of learning resource and disseminate of Thai Buddhist to respect of Buddhism including Mae Moh people too. Sometime, another case the painting story of Buddhism would be painted on another materials such as Throne Hall, cabinet Thai scriptural etc. All of the painting story of Buddhism must be painted on a higher work than to decorate on a house or decorate the garden, because the Thai traditional mural painting is a full story of Buddhism. It should not be combined with common things, and people of Mae Moh also belief in Thai traditional as well.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Time has changed, the western art is influenced though of Thai people, especially the concept of creating works of art Thai traditional changed to the concept, though western art such as the painted style of perspective or using the element of colors to strong colors looks like acrylic colors or oil colors than using soft colors or the new technology get into people life, it does change the art style to bring new technologies using with the work of art.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; From the study role of art which using technology to combine with creating the work of art in the Mae Moh sub district. Has been used in different ways, such as projecting animation in structural media, using basic programs to computer drawing, and in the part of research has been used to projecting animation the story of mural painting of the history of Mae Moh and so on.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Prediction to the process creation of new media art from the history of Mae Moh would be on the basis of artistic experiences Mae Moh peoples by using the process technology work of art. So that the things appear in this journal not only narrates the history of Mae Moh, but also explained possibility ways in the future to the ability of creating new media art collaborate between with artist, peoples and organization under condition the creation of new media art must be brought information evidences of the history of Mae Moh to develop art and technology in the community of Mae Moh to high usefulness achievable.</p> 2019-12-24T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2019 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/155262 แอพพลิเคชันการจัดเฟอร์นิเจอร์ภายในบ้าน (Home Furnishing Application) 2020-01-02T13:16:23+07:00 กมล จิราพงษ์ (Kamon Jirapong) kamon.ji@spu.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในปัจจุบันการเลือกซื้อบ้านและเฟอร์นิเจอร์ภายในบ้านยังไม่มีแหล่งรวมแบบบ้านและแบบเฟอร์นิเจอร์ในท้องตลาดเพื่อให้ผู้บริโภคสามารถนำมาทดลองจัดวางร่วมกันเพื่อความมั่นใจด้านพื้นที่ใช้สอยภายในบ้านก่อนการตัดสินใจซื้อบ้านหรือเฟอร์นิเจอร์ จากปัญหาข้างต้นผู้วิจัยจึงมีแนวคิดในการวิจัยและพัฒนาแอพพลิเคชันการจัดเฟอร์นิเจอร์ภายในบ้าน โดยมีข้อมูลแบบบ้านและเฟอร์นิเจอร์ต่างๆ ในรูปแบบจำลอง 3 มิติ เตรียมไว้ให้ผู้สนใจซื้อบ้านหรือเฟอร์นิเจอร์เลือกจัดวางเข้าด้วยกันได้ผ่านอุปกรณ์สื่อสารขนาดพกพา เพื่อเพิ่มทางเลือกใหม่ในการเลือกซื้อบ้านและเฟอร์นิเจอร์ภายในบ้านด้วยตัวเองให้เหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด จากผลการวิจัยและพัฒนาแอพพลิเคชันการจัดเฟอร์นิเจอร์ภายในบ้าน ผู้บริโภคสามารถเลือกแบบบ้าน เลือกห้อง และเลือกเฟอร์นิเจอร์ในลักษณะของแบบจำลอง 3 มิติ ในแอพพลิเคชันเพื่อนำมาออกแบบจัดวางและพิจารณาพื้นที่ใช้สอยภายในห้องต่างๆ ได้ตามความต้องการ ซึ่งทำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว โดยผู้ใช้งานไม่ต้องเสียเวลาหาเองตามร้านค้าเฟอร์นิเจอร์ในท้องตลาด ทั้งยังสามารถตรวจดูภาพบรรยากาศในแต่ละมุมภายในห้องผ่านภาพนิ่ง (Perspective View) และโหมดความจริงเสมือน (Virtual Reality: VR) ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริโภคเข้าใจถึงขนาด ระยะห่างและพื้นที่ว่างภายในบ้านหรือภายในห้อง ทำให้ง่ายต่อการสื่อสารและทำความเข้าใจระหว่างผู้ขายบ้านหรือเฟอร์นิเจอร์ และลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; In most people’s home-buying experience, there has not been an aggregator that provides comprehensive information about home and furniture design to the best suit consumers’ different tastes and living spaces of choice. In search of a solution for such problem, the research proposed the idea of developing a home furniture placement application that put together information such as 3D model of house and furniture available in the market. This Home Furnishing Application offers buyers an alternative in curating the living space from their personal preferences. The research’s result shows that with this application, home-buyers are able to choose the design of the house, types of rooms, and styles of furniture in 3D models from the application’s database before virtually place them together. With this more convenient and comparatively faster process, home-buyers are able to save a considerable amount of time from browsing the actual furniture stores. They can also inspect the decoration details and overall mood of the space through the application perspective view or virtual reality (VR) mode. The application allows them to have a better understanding in the scale and intervals of the furnished space, enabling a more effective communication between house or furniture sellers and buyers.</p> 2020-01-02T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/187251 ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการเปลี่ยนแปลงสู่องค์การดิจิทัลไทยแลนด์ 4.0 ในศตวรรษที่ 21 (Success Factors for Digital Transformation to Digital Thailand 4.0 in the 21st Century) 2020-01-02T12:05:30+07:00 โกศล จิตวิรัตน์ (Kosol Jitvirat) kosol1969@yahoo.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวิเคราะห์และอธิบายปัจจัยแห่งความสำเร็จในการเปลี่ยนแปลงสู่องค์การดิจิทัลไทยแลนด์ 4.0 ในศตวรรษที่ 21 (2) เพื่อพัฒนาปัจจัยแห่งความสำเร็จในการเปลี่ยนแปลงสู่องค์การดิจิทัลไทยแลนด์ 4.0 ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยระบบออนไลน์จากองค์การธุรกิจที่มีการปรับตัวสู่องค์การดิจิทัลไทยแลนด์ 4.0 จำนวน 256 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ หลังจากนั้นนำผลการวิจัยไปพัฒนาต่อด้วยการเก็บรวมรวมข้อมูลจากองค์การธุรกิจที่มีการปรับตัวสู่องค์การดิจิทัลไทยแลนด์ 4.0 จำนวน 421 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยอาศัยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยปรากฏปัจจัยแห่งความสำเร็จในการเปลี่ยนแปลงสู่องค์การดิจิทัลไทยแลนด์ 4.0 สามารถอธิบายได้ด้วย 7 องค์ประกอบที่สำคัญดังนี้ บทบาทผู้นำ โครงสร้างองค์การ การเตรียมคนรับการเปลี่ยนแปลงสู่องค์การดิจิทัล ความสามารถในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในกระบวนการทำงาน การเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและปรับตัว ความมุ่งมั่น และวัฒนธรรมองค์การ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purposes of this study were to (1) analyze and explain the factors of success in digital transformation to Digital Thailand 4.0 in the <em>21</em><sup>st</sup> Century and (2) to develop the success factors in digital transformation to Digital Thailand 4.0 in the <em>21</em><sup>st</sup> Century. The online questionnaires were used with 256 business organizations who were adapted to Digital Thailand 4.0 as an instrument tool to collect the data. The data was analyzed by Exploratory Factor Analysis. Afterward, the results of the research were further developed by collecting data from 421 business organizations that were upgraded to Digital Thailand 4.0. Finally, Confirmatory Factor Analysis was a key method to analyze the data. The results of the study revealed that success factors for digital transformation to Thailand 4.0 could be explained by 7 key elements as follows; leadership roles, organization structures, preparations of personal for digital transformation, the ability for applying digital technology into the workflow, accelerating for changing, commitment and organizational cultures.</p> 2020-01-02T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/191448 การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะโดยการมีส่วนร่วม สำหรับผู้สูงอายุเทศบาลตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง (The Development of Aesthetic Activities Management Model by Participation for the Elder of Namjo Municipality, Maetha District, Lampang Province) 2020-01-02T11:49:54+07:00 ปณตนนท์ เถียรประภากุล (Panotnon Teanprapakun) nuch_panotnon@hotmail.com อนงค์รัตน์ รินแสงปิน (Anongrat Rinsangpin) rinsangpin@gmail.com ธชนม์ ก้าวสมบูรณ์ (Thachon Kaosomboon) thachon@hotmail.com ชัดนารี มีสุขโข (Chatnaree Meesukko) cmeesukko@hotmail.com ฤๅชุตา เนตรจัด (Ruechuta Netrajad) ruechuta2003-2010@hotmail.com เฉลิมชัย สุขจิตต์ (Chalermchai Sukchitt) C.SUKCHITT@gmail.com สมชาย บุญศิริเภสัช (Soomchai Boosiribhasuh) boonsiribhasuch@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะโดยการมีส่วนร่วมสำหรับผู้สูงอายุเทศบาลตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง และวัตถุประสงค์เฉพาะ 1) เพื่อศึกษาสภาพและความต้องการในการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะโดยการมีส่วนร่วมสำหรับผู้สูงอายุเทศบาลตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะโดยการมีส่วนร่วมสำหรับผู้สูงอายุเทศบาลตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 3) เพื่อประเมินรูปแบบการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะโดยการมีส่วนร่วมสำหรับผู้สูงอายุเทศบาลตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง ดำเนินการวิจัยเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ศึกษาสภาพและความต้องการในการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะโดยการมีส่วนร่วมสำหรับผู้สูงอายุ 2) การสร้างรูปแบบการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะโดยการมีส่วนร่วมสำหรับผู้สูงอายุโดยการจัดสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 13 คน 3) การประเมินรูปแบบการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะโดยการมีส่วนร่วมสำหรับผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ แกนนำผู้สูงอายุจำนวน 30 คน 4) การปรับปรุงรูปแบบการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะโดยการมีส่วนร่วมสำหรับผู้สูงอายุ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบประเมิน ประเด็นการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ความถี่ <br> ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>การจัดกิจกรรมเชิงสุนทรียะฯ ประกอบด้วย กิจกรรมส่งเสริมด้านสังคม การออกกำลังกาย การเล่นเกมหรือกีฬา งานอดิเรก ส่วนกิจกรรมให้คำปรึกษาทางด้านกฎหมายสำหรับผู้สูงอายุยังไม่มีความชัดเจน <br> ซึ่งรูปแบบการบริหารจัดการทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการวางแผนการดำเนินการจัดกิจกรรมเชิงสุนทรียะให้แก่ผู้สูงอายุ ด้านการจัดองค์กร ด้านการชี้นำ และด้านการควบคุมยังขาดความชัดเจนและไม่เป็นระบบ ไม่มีการรวมกลุ่มกันในการทำกิจกรรม โดยผู้สูงอายุมีความต้องการในการจัดกิจกรรมเชิงสุนทรียะโดยการมีส่วนร่วม และมีความต้องการในการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะโดยการมีส่วนร่วม ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด </li> <li>รูปแบบการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะฯ ประกอบด้วยการบริหารงาน 4 ด้าน ได้แก่ <br> ด้านการวางแผนการดำเนินการจัดกิจกรรมเชิงสุนทรียะ โดยภาคีเครือข่าย 4 กระทรวง ประกอบด้วย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น/เทศบาล มีหน้าที่ในการวางแผนและจัดทำแผนการจัดกิจกรรมเชิงสุนทรียะให้เป็นไปตามงบประมาณของทางราชการ ด้านการจัดองค์การ ด้านการชี้นำ และด้านการควบคุม โดยชมรมผู้สูงอายุ/เครือข่าย ได้แก่ กลุ่มอาสาสมัครในท้องถิ่น สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล <br> พัฒนาชุมชน ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ผู้นำทางศาสนา ตัวแทนผู้สูงอายุ และผู้ดูแลผู้สูงอายุ เป็นผู้สนับสนุนความคิด การทำงาน การบริหารจัดการ ตลอดจนขับเคลื่อนกิจกรรมจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะสำหรับผู้สูงอายุ ซึ่งกิจกรรมเชิงสุนทรียะฯ ประกอบด้วย 1) กิจกรรมส่งเสริมด้านสังคม จำนวน 3 กิจกรรม 2) กิจกรรมการ<br> ออกกำลังกาย จำนวน 4 กิจกรรม 3) กิจกรรมการเล่นเกมหรือกีฬา จำนวน 2 กิจกรรม 4) กิจกรรมการท่องเที่ยว จำนวน 1 กิจกรรม 5) กิจกรรมงานอดิเรก จำนวน 1 กิจกรรม 6) กิจกรรมให้คำปรึกษาทางด้านกฎหมายสำหรับผู้สูงอายุ จำนวน 1 กิจกรรม และ7) กิจกรรมการดูแลสุขภาพ จำนวน 4 กิจกรรม</li> <li>รูปแบบการบริหารจัดการกิจกรรมเชิงสุนทรียะฯ มีผลการประเมินผลความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด</li> </ol> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The main objective of this research was to develop the <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity management model with the elderly participation of Namjo Subdistrict, Municipality, Maetha District, Lampang province and the particular objectives were 1) to study the conditions and needs in the <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity management with the elderly participation 2) to construct the <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity management model with the elderly participation 3) to evaluate the <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity management model with the elderly participation. The researchers had four steps of research procedure as follows: 1) To study the conditions and needs in the <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity management from 9 knowledgeable people and the sample was 317 elderly. 2) To construct the <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity management model under the focus group discussion with 13 experts. <br> 3) To evaluate the <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity management model with 30 elderly leaders. <br> And 4) To improve the <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity management model. The research instruments were the interviews, the questionnaires, the evaluations, and the focus group discussion topics. <br> The data were analyzed by the content analysis, and the statistics for frequency, mean and standard deviation.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The findings of the research were as follows:</p> <ol> <li>The <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity management consisted of social promoting activity, exercising activity, game and sport activity, pastime activity and law consulting activity which was not clear for details. The four management models; planning, organization management, conducting and controlling were unclear and unsystematic and no group activity. The need of participating in the <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity of the elderly and the need of <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity management of the elderly also was in the highest level.</li> <li>There were 4 parts of the <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity management model which firstly was <br> a plan of the activity conduction in cooperation of the Ministry of Education, the Ministry of Social Development and Human Security, the Ministry of Interior and the Ministry of Public Health including the Local Administrative Organization/Municipality. The part of organization management, conducting, and controlling the model was conducted by the local volunteers, the Provincial Social Development and Human Security Office, the District Non-Formal and Informal Education Centre, Sub-district Health Promoting Hospital, the Community Development Office, the Homeless People Protection Center, Religious Leaders, elderly representatives and caregivers. They also performed the six activities which were three social promoting activities, four exercising activities, two game and sport activities, one touring activity, one pastime activity, one law consulting activity, and four health caring activities.</li> <li>The <a href="https://dict.longdo.com/search/esthetic">esthetic</a> activity management model with the elderly participation of Namjo Subdistrict Municipality, Maetha District, Lampang province had the possibility and utility evaluation in the highest level</li> </ol> 2020-01-02T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/155726 การพัฒนาชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้ โรงเรียนจุฬาภรณ์พิชญาคาร จังหวัดนครศรีธรรมราช (The Development of Electronic Learning Packages to Improve Reading Skill for Students with Learning Disabilities in Chalapornpicthayakarn Schoolin Nakhon Sri Thammarat Province) 2020-01-07T08:52:51+07:00 จันทราภรณ์ คงศักด์ (Jantaraporn Kongsak) juntaraporn3495@gmail.com ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ (Taweewat Watthanakuljaroen) taweewat.wat@stou.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าด้านทักษะการอ่านของนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้ ที่เรียนด้วยการชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้&nbsp; โรงเรียนจุฬาภรณ์พิชญาคาร จำนวน 39 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้ โรงเรียนจุฬาภรณ์พิชญาคาร (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E<sub>1</sub>/E<sub>2</sub>&nbsp; ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้ &nbsp;มีประสิทธิภาพ&nbsp; 72.89/74.60 เป็นไปตามเกณฑ์ 75/75&nbsp; (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้ มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ&nbsp; (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้ว่ามีคุณภาพในระดับมาก</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purposes of this research were (1) to development of Electronic Learning Packages to Improve Reading Skill for Students with Learning Disabilities in Chalapornpicthayakarn School in Nakhon Sri Thammarat Province on the pre-determined efficiency criterion; (2) to study the learning progress of Learning Disabilities students learning from the Electronic Learning Packages to Improve Reading Skill for Students with Learning Disabilities; and (3) to study the opinions of the students who learned from the Electronic Learning Packages to Improve Reading Skill for Students with Learning Disabilities.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research sample consisted of 39 Students with Learning is abilities in Chalaporn picthayakarn School, obtained by cluster sampling by stratified random sampling. Research instruments comprised (1) an electronic Learning Packages to Improve Reading Skill for Students with Learning Disabilities; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire on student’s opinions toward the electronic Learning Packages to Improve Reading Skill.&nbsp; Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test.&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Research findings showed that (1) the development of Electronic Learning Packages to Improve Reading Skill for Students with Learning Disabilities was efficient at 72.89/74.60; thus meeting the set efficiency criterion of 75/75; (2) the students learning from electronic Learning Packages to Improve Reading Skill for Students with Learning Disabilities achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) the students had opinions that the electronic Learning Packages to Improve Reading Skill was appropriate at the highest level.</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/203568 พื้นที่แห่งการตื่นรู้ในงานประติมากรรมของแอนโทนี กอร์มลีย์ (The Space of Awareness in Anthony Gormley’s Sculptures) 2020-01-07T08:57:19+07:00 ฉัตรมงคล อินสว่าง (Chatmongkol Insawang) head1700@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;บทความนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษา การแสดงออกถึงพื้นที่ว่างภายในงานประติมากรรม จำนวน 4 ชิ้น ของประติมากรชาวอังกฤษ&nbsp; แอนโธนี กอร์มลีย์&nbsp; ที่สร้างสรรค์ขึ้นระหว่างช่วง ค.ศ. 1974 - 2002 ผลงาน ดังกล่าวคือ Sleeping Place (1974), Sense (1991), Learning to See III (1993) and Earthbound: Plant (2002) &nbsp;ด้วยวิธีการศึกษากระบวนการกลายรูปจากร่างกายไปเป็นพื้นที่ว่าง และการที่พื้นที่ว่างถูกเปิดเผยออกมา ในฐานะร่างกายที่หายไป ผลการศึกษาพบว่า พื้นที่ว่างในงานประติมากรรมแต่ละชิ้นนั้น คือจังหวะแห่งเวลาที่เฉพาะเจาะจงแห่งการตระหนักรู้ตามหลักคิดของพุทธศาสนาพื้นที่ว่างที่สัมพันธ์กับพื้นที่แห่งการตระหนักรู้นี้ เกิดขึ้นจากการใช้ร่างกายของศิลปินและท่วงท่าเป็นเครื่องมือผ่านกระบวนการทำแม่พิมพ์ของประติมากรรม ผู้ชมสามารถตั้งสมาธิจดจ่อระหว่างชมผลงาน เพื่อทำการสำรวจระดับการตระหนักรู้ของศิลปิน เช่นเดียวกันกับการสำรวจจิตใจของตนเองไปพร้อมกัน</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This article aimed to study how space was represented in Anthony Gormley’s sculptures. The study scoped on 4 pieces of work from 1974 to 2002 A.D. which are Sleeping Place (1974), Sense (1991), Learning to See III (1993) and Earthbound: Plant (2002). The method focused on processes that human body was transformed into space and how space was revealed as a medium to remind viewers of the absence of the body. The finding of this study is that each distinctive space from each sculpture could be interpreted &nbsp;&nbsp;as a specific moment of awareness as in Buddhist thought. The space which related to the area of awareness emerged from utilising the artist’s body and postures as the tool through the mold making process of sculpture. The viewer could contemplate on specific piece of work to observe the artist’s level of awareness and how it is reflected to the viewer’s mind itself.</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/190368 ปัจจัยสาเหตุสู่ความสำเร็จในการทำงานของพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม ในโรงแรมจังหวัดภูเก็ต (Success factors in work performance of Food and Beverage Service staff in Phuket) 2020-01-14T15:18:46+07:00 ฉัตรมณี ประทุมทอง (Chadmanee Prathumthong) aj.pu@icloud.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยสาเหตุสู่ความสำเร็จในการทำงานของพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่มในโรงแรมจังหวัดภูเก็ต 2) ศึกษาความสำเร็จในการทำงานของพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่มในโรงแรมจังหวัดภูเก็ต และ 3) เปรียบเทียบความสำเร็จในการทำงานของพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่มในโรงแรมจังหวัดภูเก็ต จำแนกตามทักษะความสามารถของบุคคล สภาพแวดล้อมในการทำงาน ความผูกพันกับองค์กร รายได้และสวัสดิการ และโอกาสความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลกับพนักงานแผนกบริการอาหารและเครื่องดื่มที่ปฏิบัติงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน ของโรงแรมในจังหวัดภูเก็ตที่เป็นสมาชิกสมาคมโรงแรมไทยในจังหวัดภูเก็ต จำนวน 209 ราย</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษาพบว่า</p> <ol> <li>ปัจจัยสาเหตุสู่ความสำเร็จในการทำงานของพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่มในโรงแรมจังหวัดภูเก็ต พบว่า ในภาพรวมทุกด้านมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานและด้านความผูกพันกับองค์กร มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากัน รองลงมาเป็นด้านทักษะความสามารถของบุคคล ด้านรายได้และสวัสดิการ และด้านโอกาสและความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ตามลำดับ</li> <li>ระดับความสำเร็จในการทำงานของพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่มในโรงแรมจังหวัดภูเก็ต พบว่า ในภาพรวมทุกท่านมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายมิติ พบว่า มิติด้านความภูมิใจ มีระดับความคิดเห็นมากที่สุด รองลงมาเป็นมิติด้านผลงาน และมิติด้านแรงจูงใจตามลำดับ</li> </ol> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;3. ผลการเปรียบเทียบความสำเร็จในการทำงานของพนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่มในโรงแรมจังหวัดภูเก็ต พบว่า ทักษะความสามารถของบุคคล สภาพแวดล้อมในการทำงาน ระดับความผูกพันกับองค์กร ระดับรายได้และสวัสดิการ และระดับโอกาสความก้าวหน้าในตำแหน่งงานที่แตกต่างกันมีผลต่อความสำเร็จในการทำงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This study aims to 1) study the factors affecting the success of the food and beverage workers in Phuket hotels.;&nbsp;2) study the success level of the food&nbsp;service staff in Phuket hotels comprised performance. 3) compare success of the food and beverage workers in Phuket hotels as classified by personnel skills,&nbsp;work environment,&nbsp;Corporate&nbsp;Engagement, Income and welfare also the opportunity to advance in the job. The researcher collected data&nbsp;from&nbsp;209&nbsp;food and beverage operators who have been working for less than 6&nbsp;months at Phuket hotels&nbsp;as a member of&nbsp;Thai Hotels Association in Phuket&nbsp;province,&nbsp;used in the study&nbsp;was a questionnaire.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The analysis of data showed that&nbsp;&nbsp;</p> <ol> <li>Factors affecting the success of the food service staff in thePhuket hotels in overall level of feedback were&nbsp;at&nbsp;very high. When considering each side,&nbsp;it&nbsp;found that&nbsp;work environment and&nbsp;cooperate engagement had the most comments followed by personnel skill, income and welfare also&nbsp;the opportunities advances in the&nbsp;jobs respectively.&nbsp;</li> <li>&nbsp;The analysis of success factors in the work&nbsp;in overall&nbsp;level of feedback was very high. Considering the dimensions, it was found that proud dimension has&nbsp;the most comments&nbsp;followed by performance dimension and motivation dimension, respectively.&nbsp;</li> <li>Hypothesis: personnel skill factor work environment,&nbsp;corporate engagement income and welfare, opportunities for job advancement that affect the success of the food service staff in Phuket hotels were&nbsp;different. The statistical significance level at 0.05 was not consistent with the hypothesis.&nbsp;</li> </ol> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/193218 การวิเคราะห์อิทธิพลความภักดีและการตระหนักในตราสินค้าที่มีต่อการตัดสินใจซื้อรถจักรยานยนต์โดยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วนแบบคงเส้นคงวา (Path Analysis of Brand Loyalty and Awareness of Purchasing Decision of Motorcycles using Consistent Partial Least Square) 2020-01-07T09:21:27+07:00 ฉันธะ จันทะเสนา (Chanta Jhantasana) Zhandhak3@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ส่วนแบ่งการตลาดรถจักรยานยนต์ไทยแต่ละปีเป็นตราสินค้าฮอนด้าและยามาฮาประมาณร้อยละ 70 และ 20 ตามลำดับ ซึ่งผู้ซื้อนิยมในตราสินค้าแตกต่างกันอย่างชัดเจน จึงศึกษาอิทธิพลของความภักดีและการตระหนักในตราสินค้าที่มีต่อการตัดสินใจซื้อรถจักรยานยนต์โดยใช้วิธีกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วนแบบคงเส้นคงวาและใช้ขนาดตัวอย่าง 130</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษาพบว่า ความภักดีและความตระหนักในตราสินค้ามีอิทธิพลทางบวกต่อการตัดสินใจซื้อรถจักรยานยนต์วิธีกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วนแบบคงเส้นคงวาต้องใช้ขนาดตัวอย่างใหญ่กว่าวิธีกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วนแบบเดิมเพื่อให้ได้อำนาจการทดสอบที่ดี</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The market share of motorcycles in Thailand for each year is dominated by Honda and Yamaha about 70%, 20% respectively. Thus suggests that buyers clearly have different motorcycle brand preferences. &nbsp;Thus, this paper studied the path analysis of brand loyalty and awareness of the purchasing decision of motorcycles using consistent partial least squares. &nbsp;The sample size was 130.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results showed that brand loyalty and awareness significantly and positively affected the purchasing decision. &nbsp;However, the consistent partial least squares may need a larger sample size than a traditional PLS-SEM does in order to obtain good statistical power.</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/152038 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่าย วิชาการเขียนโปรแกรมติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก เรื่อง โครงสร้างคำสั่ง สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช (The Development of A Computer Assisted Instruction via Network in The Graphical User Interface Programming on the Topic of Command Structure for Vocational Certificate II Students in Nakhon Si Thammarat Technical College) 2020-01-07T09:27:52+07:00 ชลธิต ขุนดำ (Chonlatit Khundam) krueot@gmail.com ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ (Taweewat Watthanakuljaroen) taweewat.wat@stou.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่าย วิชาการเขียนโปรแกรมติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก เรื่อง โครงสร้างคำสั่งให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่าย วิชาการเขียนโปรแกรมติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก เรื่อง โครงสร้างคำสั่ง และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่าย วิชาการเขียนโปรแกรมติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก เรื่อง โครงสร้างคำสั่ง</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช จำนวน 21 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่าย วิชาการเขียนโปรแกรมติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก เรื่อง โครงสร้างคำสั่ง (2) แบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่าย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E<sub>1</sub>/E<sub>2</sub> ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่าย วิชาการเขียนโปรแกรมติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก เรื่องโครงสร้างคำสั่ง มีประสิทธิภาพ คือ 80.27/80.95 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่าย วิชาการเขียนโปรแกรมติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก เรื่องโครงสร้างคำสั่ง มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่าย วิชาการเขียนโปรแกรมติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก เรื่องโครงสร้างคำสั่ง โดยภาพรวมในระดับเห็นด้วยมากที่สุด</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purposes of this research were (1) to develop a computer-assisted instruction program in The Development of a Computer Assisted Instruction via Network in The Graphical User Interface Programming on the Topic of Command Structure for Vocational (2) to study the learning progress of Certificate II Students in Nakhon Si Thammarat Technical College learning from The Development of a Computer Assisted Instruction via Network in The Graphical User Interface Programming on the Topic of Command Structure for Vocational, and 3) to study the opinions of the students who learned from The Development of a Computer Assisted Instruction via Network in The Graphical User Interface Programming on the Topic of&nbsp; Command Structure for Vocational.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research sample consisted of 21 Certificate II Students in Nakhon Si Thammarat Technical College, obtained by cluster sampling by use classroom to sampling. Research instruments comprised (1) a computer-assisted instruction program in the Development of a Computer Assisted Instruction via Network in the Graphical User Interface Programming on the Topic of Command Structure for Vocational, (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing, and (3) a questionnaire on student’s opinions toward the Development of a Computer Assisted Instruction via Network in The Graphical User Interface Programming on the Topic of Command Structure for Vocational. Statistics employed for data analysis were the E<sub>1</sub>/E<sub>2</sub> efficiency index, mean, standard deviation, and t-test.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Research findings showed that (1) the developed computer-assisted instruction program a computer-assisted instruction program in the Development of a Computer Assisted Instruction via Network in The Graphical User Interface Programming on the Topic of Command Structure for Vocational was efficient at 80.27/80.95, thus meeting the set efficiency criterion of 80/80, (2) the students learning from the Development of a Computer Assisted Instruction via Network in The Graphical User Interface Programming on the Topic of Command Structure for Vocational learning progress significantly at the .05 level, and (3) the students had opinions that the Development of a Computer Assisted Instruction via Network in The Graphical User Interface Programming on the Topic of Command Structure for Vocational was appropriate at the highest level.</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/165868 การใช้และการประเมินผลประโยชน์ของเทคโนโลยีสะอาดสำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย (Utilization and Benefit Assessment of Cleaner Technology for Thai Textile Industry) 2020-01-07T09:33:55+07:00 ชิชนันท์ ช้างเนียม (Chichanan Changniam) chicha.aom@gmail.com กัมปนาท วิจิตรศรีกมล (Kampanat Vijitsrikamol) kampanat.v@ku.th จักรกฤษณ์ มหัจฉริยวงศ์ (Jukkrit Mahajchariyawong) mjukkrit@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสะอาดในอุตสาหกรรมสิ่งทอโดยสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอเพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการทรัพยากรการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ลดมลพิษจากกระบวนการผลิต และลดต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการผลิต ดังนั้นเพื่อชี้ให้เห็นถึงผลสำเร็จของโครงการดังกล่าว การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลประโยชน์และผลสำเร็จจากการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสะอาดในอุตสาหกรรมสิ่งทอ โดยใช้วิธีการประเมินผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ (Impact Assessment) โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ประกอบการ จำนวน 2 บริษัท พบว่าโครงการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสะอาด ไม่เกิดความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจในระยะสั้น (พ.ศ. 2560-2561) แต่ในระยะยาว (พ.ศ. 2560-2570) โครงการนี้เกิดความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้ การประเมินโครงการดังกล่าว ไม่รวมผลประโยชน์ทางด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากโครงการซึ่งการส่งเสริมเทคโนโลยีสะอาด สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ควรจัดกลุ่มบริษัทเป็น 2 กลุ่ม คือบริษัทรายเดิม และรายใหม่ เพื่อมุ่งเน้นการส่งเสริมแบบเฉพาะเจาะจง ด้วยความแตกต่างของประเภทอุตสาหกรรม มุ่งเน้นการอบรมภายใต้ระบบให้คำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิในบริษัทรายใหม่ และการประเมินและติดตามผลเพื่อให้การรับรองกับบริษัทรายเดิม นอกจากนี้กระทรวงอุตสาหกรรมควรพิจารณาการถ่ายทอดเทคโนโลยี และการบังคับใช้กฎหมายอย่างเป็นรูปธรรม</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The benefits of the cleaner technology in the textile industry can be exhibited as follows: increasing production efficiency, resource management, pollution and cost reduction. Thailand Textile Institute (THTI) has been actively to promote cleaner technology applied in the textile industry. Thus, to evaluate this project, the research focuses to assess an economic impact of the cleaner technology extension project. The data used in this study is in-depth interviews of the 2 company’s owners. The result show the ex-post evaluation (B.E. 2560-2561) yields a negative value of NPV, in other words, the project is not viable in the short run. On the contrary, the combination of ex-post and ex-ante evaluation (B.E. 2560-2570) reveals the opposite results in the long run. However, both short run and long run evaluations do not include environmental benefits derived from the project. To promote cleaner technology, THTI should at least classify the textile companies into 2 groups: new and existing company members. Means to enhance cleaner technology must be specific due to different types of the members. Focuses on training under mentoring system should be made for the new members, and monitoring and evaluation including certification should be emphasized on the existing members. In addition, technology transfer and effective</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/208161 การวางแผนสืบทอดตำแหน่งทางการบริหาร: กรณีศึกษากลุ่มภารกิจอำนวยการโรงพยาบาลขอนแก่น (Planning for Succession of Management Positions: A case study of KhonKaen Hospital Administration) 2020-01-07T10:12:17+07:00 ธันยนันท์ พลทองสถิตย์ (Thanyanan Phonthongsathit) Siwach1980@hotmail.com ศิวัช ศรีโภคางกุล (Siwach Sripokangkul) Siwasri@kku.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1)เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพและความพร้อมของบุคลากรในการสืบทอดตำแหน่งทางการบริหาร 2)เพื่อศึกษาปัญหาในการวางแผนสืบทอดตำแหน่งทางการบริหาร 3) เพื่อหา แนวทางการวางแผนสืบทอดตำแหน่งทางการบริหาร กรณีศึกษากลุ่มภารกิจอำนวยการ โรงพยาบาลขอนแก่น งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 20 คน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก</p> <p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>ผลการวิจัยพบว่า บุคลากรกลุ่มภารกิจอำนวยการ โรงพยาบาลขอนแก่น ส่วนใหญ่มีศักยภาพและความพร้อมในการสืบทอดตำแหน่งทางการบริหารซึ่งเดิมการวางแผนสืบทอดตำแหน่งทางการบริหารจะคัดเลือกจากบุคลากรที่มีความอาวุโสในหน่วยงานขาดการกำหนดหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผู้ที่มาดำรงตำแหน่ง และจะดำเนินการคัดเลือกผู้มาสืบทอดตำแหน่งก็ต่อเมื่อตำแหน่งนั้นๆ ว่างลง ไม่ได้ทำการคัดเลือกล่วงหน้าจึงทำให้ผู้สืบทอดตำแหน่งไม่ได้รับการพัฒนาในทักษะทางการบริหารมาก่อนหน้าที่จะรับตำแหน่งและขาดความต่อเนื่องในการปฏิบัติงานและการบริหารงานจึงได้มีการเสนอแนะแนวทางในการวางแผนสืบทอดตำแหน่งทางการบริหารเพื่อให้เป็นระบบที่ชัดเจน โดยดำเนินการ ดังนี้1<strong>.</strong>กำหนดตำแหน่งเป้าหมายในการสืบทอดตำแหน่งทางการบริหาร 2.การกำหนดคุณสมบัติและเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกผู้มีศักยภาพที่จะทดแทนตำแหน่ง (Successor) &nbsp;3.การพิจารณาคัดเลือกผู้มีศักยภาพที่จะทดแทนตำแหน่ง (Successor)และ จัดทำบัญชีตามลำดับที่เหมาะสม 4.การจัดทำแผนพัฒนาผู้มีศักยภาพตามคาดหวังขององค์กรที่อยากให้มีสำหรับการดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น และ 5.การติดตาม ประเมินผล จึงเห็นสมควรดำเนินการวางแผนการสืบทอดตำแหน่งทางการบริหารที่มีความชัดเจนดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น อีกทั้งการสืบทอดตำแหน่งยังเป็นการจูงใจให้บุคลากรที่ต้องการความก้าวหน้าพัฒนาศักยภาพตนเองอีกด้วย ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างเรียบร้อย ในการนี้กลุ่มภารกิจอำนวยการโรงพยาบาลขอนแก่นจึงจะต้องศึกษาหาแนวทางในการจัดทำแผนสืบทอดตำแหน่งทางการบริหาร เพื่อเป็นการเตรียมการวางแผนสรรหาและคัดเลือกบุคคลที่จะมาทดแทนอัตรากำลังที่จะเกษียณอายุ ลาออกจากราชการ เสียชีวิตนำไปสู่การพัฒนาบุคลากรที่มีศักยภาพความสามารถตรงตามความต้องการขององค์กรมาทดแทนตำแหน่งว่างได้อย่างทันเวลาและเหมาะสมซึ่งในการวางแผนสืบทอดตำแหน่งต้องสอดคล้องกับพันธกิจเป้าหมายขององค์กรเพื่อให้มั่นใจว่าการดำเนินงานในกระบวนการหลักได้อย่างต่อเนื่องและราบรื่น</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The objectives of this research are: (1) To analyze the potential and the success of personnel in succession administrative status; (2) To study the planning succession plan; and (3) To develop guidelines for succession planning for administrative staff by conducting a case study of KhonKaen Hospital’s&nbsp; administration system. This was a qualitative research study, and data were collected from 20 key informants using in-depth interview. This study found that the administrative personnel of KhonKaen Hospital have the potential and ability to succeed in administrative succession. Criteria for succession include seniority, however there is a lack of criteria based on administrative qualifications and skill set. There is no systematic program of staff development to help groom them for succession.&nbsp; Therefore, based on the results of this study, the guidelines for improving succession planning and implementation are as follows:(1) Determine the positions eligible for succession; (2) Define the qualifications and criteria for selecting qualified candidates for succession (Successor); (3) Consider selection of potential candidates to replace positions (Successor); (4) Train the candidate successors to prepare them for succession; and (5). Monitor and evaluate the outcomes.&nbsp; All this should be codified into a set of systematic procedures and a clear succession plan. Staff should be motivated to seek succession if they feel they are qualified.&nbsp; In this regard, KhonKaen Hospital's mission is to prepare, plan, recruit and select the best person who will replace the retiring staff or fill other vacancies as they occur. With a clear and systematic succession plan, this process should occur smoothly.</p> 2020-01-03T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/185843 Participatory Art In Thai Society And Its Hidden Power 2020-01-07T10:17:01+07:00 Duanwisakha Cholsiri duanwisakha@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Participatory practice, as a form of contemporary art, seeks to remove the boundaries between artists, art, audiences and spaces. Whilst this process offers audiences a chance to voluntarily participate in the artwork, it can also be seen as the exercise of political control over unwitting participants. This article will investigate the role of participatory art in Thai society, and its political influence under the guise of participation. To achieve this, three case studies of contemporary Thai artists will be examined. These artists have been selected due to their international recognition, and their centrality to each artistic movement relating to culture, community and territory, and social organisation.<a href="#_ftn1" name="_ftnref1">[1]</a> These three cases are 1) Rirkrit Tiravanija’s conceptual art ‘Untitled 1990 (Pad Thai)’ 2) Wasinburee Supanichvoraparch’s annual ‘Art Normal’ project (since 2011), which aims to create arts dialogue in the community of Ratchaburi province. 3) Sutee Kunavichayanont’s protest art ‘Thai Uprising' (2013-2014). In order to investigate these practices, books, papers, articles from e-newspapers and other related documents such as interview scripts have been reviewed. In some cases, the writer has taken part in the practices as a passive or active participant. These three case studies will be thematically examined following Professor Michael Kelly’s three categories of participatory art in 'Encyclopedia of Aesthetics' - relational, activist, and antagonistic.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; In conclusion, this paper suggests that regardless of processes, participatory art encourages relationships between participants and society within a specific place and time - a process that can induce collective thought and action under the premise of solidarity. Given the artist’s privileged position within this relationship, art creators must remain cautious not to manipulate the rights and perspectives of participants throughout the artistic process.<a href="#_ftnref1" name="_ftn1">[1]</a> Saraburiwitthayakhom, sangkhom manut. <em>khwa</em><em>̄</em><em>mma</em><em>̄</em><em>i ka</em><em>̄</em><em>n yu</em><em>̄</em><em> ru</em><em>̄</em><em>am kan læ </em><em>ʻ</em><em>ongprako</em><em>̜̄</em><em>p kho</em><em>̜̄</em><em>ng sangkhom. </em>[Human Society. Meanings, Coexistence and Elements of Social Structure]. Retrieved on November 5, 2019 from https://sites.google.com/site/30261bambuckk/khwam-hmay-kar-xyu-rwm-kan-laea-xngkh-prakxb-khxng-sangkhm</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/206387 การจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติของจังหวัดชัยนาท (National Disaster Risk Management in Chainat Province) 2020-01-07T15:27:52+07:00 ทัศนีย์ ปิ่นสวัสดิ์ (Tasanee Pinsawasdi) Tasanee.sk@gmail.com ตวงทอง สินชัย (Tuangtong Sinchai) Tasanee.sk@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1.วิเคราะห์ความเสี่ยงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติในจังหวัดชัยนาท 2.เพื่อศึกษาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติในจังหวัดชัยนาท3.เพื่อนำเสนอแนวทางส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชนและภาคเอกชนในการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติในจังหวัดชัยนาท การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มุ่งศึกษาการวิเคราะห์ความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ ทางธรรมชาติของจังหวัดชัยนาท รวมถึงนำเสนอแนวทางการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคเอกชนในการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติของจังหวัดชัยนาท โดยใช้การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม (Participation Observation and Non-Participation Observation) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ &nbsp;(key informant) ซึ่งเป็นตัวแทนของภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคเอกชน จำนวน 24 คน รวมถึงการสนทนากลุ่ม (focus group) และสานเสวนา (Dialogue) โดยมีผู้เข้าร่วมสานเสวนาประกอบด้วย หน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม&nbsp; ผู้นำท้องถิ่น ภาคประชาชน จำนวน 200 คน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) จากการวิเคราะห์ความเสี่ยงปัญหาภัยพิบัติในพื้นที่สามารถสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1.การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ พบว่า ภัยพิบัติทางธรรมชาติในจังหวัดชัยนาทเป็นปัญหาอุทกภัยรวมถึงภัยแล้งมีสาเหตุเกิดจากลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ ภูมิศาสตร์เป็นที่เนินสูงสลับกับภูเขาและมีพื้นที่อยู่ทั้งในเขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน 2) การจัดการความเสี่ยง ประกอบด้วย การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ การจัดการในภาวะฉุกเฉิน และการฟื้นฟู ประกอบด้วยกระบวนการ ดังนี้ 2.1 กระบวนการลดความเสี่ยงด้วยการเตรียมความพร้อมก่อนเกิดภัยพิบัติของพื้นที่ที่ประสบภัยของจังหวัดชัยนาท เช่น การกำจัด วัชพืช การสร้างคันกั้นน้ำ ขุดลอกทางระบายน้ำ จัดเตรียมบุคลากรและเครื่องมือการประเมินสถานการณ์ การสำรวจพื้นที่เสี่ยง และการมอบหมายภารกิจให้หัวหน้าส่วนแต่ละฝ่ายรับผิดชอบ 2.2 กระบวนการจัดการในภาวะฉุกเฉินของจังหวัดชัยนาท มีกระบวนการจัดชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วเพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยเบื้องต้น มีการจัดหาสถานที่อพยพประชาชนผู้ประสบภัย มีการเตรียมความพร้อมในการจัดหาเครื่องอุปโภค บริโภค อาหารน้ำดื่ม ยารักษาโรค และดูแลรักษาสุขภาพความเป็นอยู่ของผู้ประสบภัย นอกจากนี้ยังมีการจัดเตรียมชุดเจ้าหน้าที่ร่วมกับผู้นำท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้านในการร่วมกันปฏิบัติงาน 2.3 การฟื้นฟูจากภัยพิบัติทางธรรมชาติของจังหวัดชัยนาทเป็นการมุ่งเน้นให้ความช่วยเหลือด้วยการบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานท้องถิ่น ประชาชน และภาคเอกชน เช่น ร่วมกันทำความสะอาดวัด โรงเรียน สถานที่ราชการ หรือบ้านเรือนประชาชนหลังประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ มีการประสานงานร่วมกับกรมโยธาในการดำเนินการซ่อมแซมถนนที่ชำรุดเสียหายให้สามารถสัญจรได้โดยปกติ เป็นต้น 3) แนวทางการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชนและภาคเอกชนในการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติมีการบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคในรูปแบบเครือข่ายทั้งแบบทางการและไม่เป็นทางการในทุกขั้นตอน เช่น การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ จัดการในภาวะฉุกเฉิน และการฟื้นฟู มีการศึกษาดูงานจากกรณีศึกษาในการจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง มีการจัดทำคู่มือประชาชนเมื่อประสบภัยพิบัติ เทศบาลมีการจัดทำประชาคมหมู่บ้านเพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักเกี่ยวกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันน้ำท่วม เช่น การกรอกกระสอบทรายเพื่อทำคันกั้นน้ำเพื่อเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ มีการวางแผนเตรียมรับสถานการณ์น้ำ และติดตามประเมินสถานการณ์น้ำอยู่เสมอ มีการสร้างความเข้าใจระหว่างพื้นที่ประสบภัยกับพื้นที่เหนือแนวคันกั้นน้ำเพื่อป้องกันปัญหาความขัดแย้งที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ ในขณะเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติทุกภาคส่วนมีการบูรณาการร่วมกันในการจัดหาสิ่งของจำเป็น เช่น เรือ สุขาเคลื่อนที่ สิ่งของยังชีพให้กับผู้ประสบภัย เป็นต้น นอกจากนี้ หลังเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติทุกภาคส่วนมีการร่วมมือกันในการฟื้นฟูเยียวยาผู้ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น การทำความสะอาด บูรณะสถานที่สำคัญ เยียวยาเกษตรกรและประชาชนที่ได้รับผลกระทบ เป็นต้น</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research proposed the objectives to 1) to analyze national disaster risk management in Chainat; 2) to study the national disaster risk management in Chainat; 3) to present the public and private participation methods in the national disaster risk management in Chainat.&nbsp; The qualitative research was conducted in this study, which aimed to analyze the risk and national disaster risk management in Chainat, including present the public and private participation methods in the national disaster risk management in Chainat.&nbsp; According to this research, the participation observation and non-participation observation; an in-depth interview from the 24 key informants who were the representative of public and private sections; and focused group in order to responses the national disaster problems in the specific areas were conducted to analyze the risks and evaluation of natural disaster in the specific areas and explore the risk management methods from the public and private participation.&nbsp; A dialogue was organized in which 200 participants from the government sectors, public and private sectors, the leaders were attended.</p> <p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>The findings revealed that 1) the collected data of Natural disaster risks in Chainat areas were concluded, as follows: 1) The risk analysis of natural disasters found that the natural disasters in Chainat Province were flooding problems including drought caused by topographical and climatic conditions. Geographically, the hills are interspersed with mountains and the area is both irrigated and not irrigated. 2) the risk management comprised with the issues of disaster risk reduction, responses, and recovery, which were focused on 2.1 Disaster risk reduction process by the preparedness for unexpected events in disaster areas in Chainat. Undertakers managed the plans to cope with unexpected beforehand disasters, constructed the preparation systems and the resolution in order to cope with natural disaster such as the establishment of emergency center, weeding, watercourse excavation, provide personnel, &nbsp;situation assessment, surveying of the risk areas, dyke construction and tasks assignment to each section leaders; 2.2 The process of emergency management in Chainat was operated during the disasters as preparing in advance, including assisted floods victims to reduce damages.&nbsp; Chainat undertakers organized mobile services to primary rescue floods victims, provided shelters for victims, prepared for consumption, food, and beverages, medicines and took care of the victims’ health.&nbsp; Chainat undertakers asked for other sectors’ helpful.&nbsp; Moreover, there was a corporation with the local leaders, village headmen, or headmen to participate in dredging the canal for drainage.&nbsp; Local people collaborated with the municipality in weeding at canal; 2.3 the resilience after natural disaster situation in Chainat was focused on mainstreaming in collaboration with the department of public works and town and country planning to repair broken roads to be able to roam normally. 3). Promoting the collaboration with public and private partnership regarding the natural disaster management, Chainat.&nbsp; Chainat’s undertakers have an integrated collaboration of all sectors, comprised with public and private sectors and formal and informal mass media, which was managed the risk at all stages such as disaster risk reduction, responses the disaster management and recovery.&nbsp; Chainat’s undertakers had safety training, constantly attended natural disaster case study field trips, made people manual for disaster confrontation.&nbsp; The local government had taken responsible for imparting local people to aware the natural disaster and had organized a campaign for local people that are involved in flood protection such as filled sands in sandbags for making dyke in order to prepare for coping with natural disaster, to plan for coping with floods and to follow up and assess floods risk.&nbsp; There was building an understanding of disaster encountering along dyke areas in order to prevent the confliction that might be occurred in areas.&nbsp; During the natural disaster situations, the public and private sectors were integrated collaboration in supplying necessities such as boats, mobile toilets, survival kits and changing of the guard for inspecting the flood levels.&nbsp; Provincial Electricity Authority was in charge of inspecting electrical system in which the municipality coordinated the Provincial Electricity Authority to visit the disaster areas for cutting off the electricity and removing plugs to the over level of floods.&nbsp; The public health had assisted the victims in treating the disease.&nbsp; Moreover, there was the corporation of all sectors to recover the victims after natural disaster situations such as cleaning, renovation, and recovery agricultures and local people who had got aftereffect.</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/193356 ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Factors Affecting Ethics Behavior on Information and Communication Technology Usage of Education Students in Ramkhamhaeng University) 2020-01-07T15:36:20+07:00 บุษกร เชี่ยวจินดากานต์ (Bussakorn Cheawjindakarn) bussakornonline@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับพฤติกรรมจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ส่วนกลาง ที่มีสภาพเป็นนักศึกษาและลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 448 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักศึกษา&nbsp; คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต&nbsp; ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับพฤติกรรมจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โดยรวมอยู่ในระดับสูง โดยพฤติกรรมจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารด้านความเป็นส่วนตัว (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">=4.15) ด้านความถูกต้อง (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">=3.99) และด้านการเข้าถึงข้อมูล (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">=3.85) อยู่ในระดับสูง และด้านความเป็นเจ้าของ (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">=3.67) อยู่ในระดับปานกลาง และ (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง มีดังนี้ 2.1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ&nbsp; ชั้นปีการศึกษา ภาควิชาที่ศึกษา และค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือน 2.2) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ได้แก่ บุคคลที่พักอาศัยด้วย และสถานะบิดามารดา&nbsp; 2.3) ปัจจัยด้านลักษณะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้แก่ ช่วงเวลาที่เข้าใช้งานอินเทอร์เน็ต อุปกรณ์ที่เข้าใช้งานอินเทอร์เน็ต สถานที่เข้าใช้งานอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ที่นิยมเข้าใช้บริการ และแอปพลิเคชั่นการสื่อสารที่ใช้งาน</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research is aim to 1) study level of ethics behavior on information and communication technology usage of education students in Ramkhamhaeng University and 2) study factors affecting ethics behavior on information and communication technology usage of education students in Ramkhamhaeng University. Sampling group is 448 undergraduate students studying in faculty of education, Ramkhamhaeng University enrolled in the academic year 2560 semester 2. Research instrument is questionnaire. The data were analyzed by frequency, percentage, Mean, Standard Deviation: S.D. and Correlation Coefficient. The research found that (1) Level of ethics behavior on information and communication technology usage of education students in Ramkhamhaeng University is high level. Ethics Behavior on information and communication technology usage of education students for information privacy (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">=4.15), information privacy (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">=3.99), data accessibility (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">=3.85) in the high level and information property (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">=3.67) in the medium level and (2) Factors affecting ethics behavior on Information and communication technology usage of education students in Ramkhamhaeng University as follow: 2.1) personal factors is sex, academic level, department, and average cost per month 2.2) environment factors is person with residence and parents status and 2.3) characteristics of technology usage factors is internet access time, internet access device, internet access location, popular websites using, and communication applications using</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/184500 ผลการใช้หนังสือภาพ ชุดมะขามหวานเมืองเพชรบูรณ์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 (The Effect of Using a Set of Picture Books on Phetchabun Sweet Tamarind for Primary Student Grade 1 under the Office of Phetchabun Primary Education Service Area 1) 2020-01-07T15:42:26+07:00 ปรมะ แก้วพวง (Parama Kheawphuang) parama1007@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัย เรื่อง ผลการใช้หนังสือภาพ ชุดมะขามหวานเมืองเพชรบูรณ์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อ &nbsp;1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสือภาพ ชุดมะขามหวานเมืองเพชรบูรณ์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2) ศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการเรียนโดยใช้หนังสือภาพ ชุดมะขามหวานเมืองเพชรบูรณ์</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 3 ห้อง รวม 35 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 1) หนังสือภาพ ชุดมะขามหวานเมืองเพชรบูรณ์ 2) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสือภาพ ชุดมะขามหวานเมืองเพชรบูรณ์ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้หนังสือภาพ ชุดมะขามหวานเมืองเพชรบูรณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที แบบ dependent sample</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัย พบว่า 1) นักเรียนที่เรียนด้วยหนังสือภาพ ชุดมะขามหวานเมืองเพชรบูรณ์ มีคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) นักเรียนที่เรียนด้วยหนังสือภาพ ชุดมะขามหวานเมืองเพชรบูรณ์ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The objectives of this research were (1) to compare the learning achievements of Prathom Suksa 1 students before and after the learning by the picture books; and (2) to study the satisfaction of the students with learning from the picture books.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research sample consisted of 35 students in Prathom Suksa 1 of school under the Office of Phetchabun Primary Education Service Area 1 during the first semester of the 2017 academic year, obtained by simple sampling. The employed research instruments comprised (1) the picture books entitled Phetchabun Sweet Tamarind; (2) a learning management plans for learning using the picture books; (3) a learning achievement test; and (4) a questionnaire on students' s satisfaction with learning from the picture books. Statistics of data analysis were mean, standard deviation and t-test.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Research findings showed that (1) the post-learning achievement scores of the students who learned from the picture books were significantly higher than their pre-learning achievement scores at the .05 level; and (2) the students who learned from the picture books were satisfies with their learning from the picture books at the high level.</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/166269 สะเต็มคอมพิวเตอร์โดยโครงงานเป็นฐานสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยชุดควบคุมอัตโนมัติ (STEM Computer on Project- Based Learning for Grade 10 Students Using Automatic Control ) 2020-01-07T15:49:00+07:00 ประสงค์ บรรจงเพียร (Prasong Bungjongpien) prasongdip@gmail.com ชัยยพล ธงชัยสุรัชต์กูล (Chaiyapon Thongchaisuratkrul) srptc@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสะเต็มคอมพิวเตอร์โดยโครงงานเป็นฐานสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ด้วยชุดควบคุมอัตโนมัติ กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 20 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง ระยะเวลาการเรียนจำนวน 20 คาบ คาบละ 50 นาที โดยจัดรูปแบบการสอนแบบ MIAP แบ่งหน่วยการเรียนเป็น 3 หน่วยการเรียนรู้ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 จะถูกแบ่งกลุ่มละ 4 คน เพื่อเสริมทักษะการทำงานร่วมกัน สื่อที่ใช้ประกอบไปด้วย งานนำเสนอพาวเวอร์พ้อย, คู่มือการสอน, และชุดควบคุมอัตโนมัติ ซึ่งประกอบไปด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino เซ็นเซอร์ มอเตอร์ และชุดโครงสร้าง &nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัย พบว่านักเรียนที่ผ่านการเรียนด้วยกิจกรรมสะเต็มคอมพิวเตอร์ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 ความพึงพอใจของครูประจำชั้นอยู่ในระดับมาก ที่ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.87 ประสิทธิภาพของกิจกรรม E1/E2 มีค่าเท่ากับ 81.50/83.45 ซึ่งสูงกว่าสมมุติฐาน 80/80 ผลประเมินผลงานนักเรียนจากโครงการพบว่านักเรียนทุกคนผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีคะแนนเฉลี่ยที่ 70 คะแนน สรุปได้ว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้สามารถนำไปใช้พัฒนานักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purpose of this were to STEM computer development based on project-based learning for grade 10 &nbsp;students using automatic control set. The sample groups are 20 grade 10&nbsp; &nbsp;students. They are chosen by purposive simple random sampling. They studied for 20 periods. A period was about 50 minutes. The MIAP model of learning was used. There are 3 learning unites. The students are grade 10 students divided into 4 groups. This supports cooperation skill. Instructional media consisted of power point, handbook and automatic control set. The automatic control set included Arduino microcontroller, sensors, motor and set of structure.&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results of this research shown that the satisfaction of students is in high level at 4.33. The satisfaction of teachers who used the course was high level at 3.87. Efficiency E1/E2 was 81.50/83.45 which were higher than 80/80 hypothesis. The projects of students pass the evaluation criteria at the score of 70. In conclusion, this course can be used for developing students efficiently.</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/205308 คุณภาพการบริการ ความพึงพอใจของผู้ชม และความตั้งใจเชิงพฤติกรรม ในอุตสาหกรรมกีฬา (Service quality, Spectators satisfaction and Behavioral intentions in Sport Industry) 2020-01-07T15:54:15+07:00 พัชรมน รักษพลเดช (Patcharamon Rucksapoldech) jnpatcharamon@gmail.com กฤษฎา ปาณะเสรี (Kritsada Panaseri) kritsadaae007@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;คุณภาพการบริการ เป็นตัวแปรสำคัญที่มีผลต่อความพึงพอใจและการกลับมาใช้บริการซ้ำของผู้ชม อันเป็นกลุ่มลูกค้าสำคัญในอุตสาหกรรมกีฬากลุ่มการจัดการแข่งขันกีฬา สนามกีฬา และการให้บริการทางด้านการกีฬาหรือการออกกำลังกาย บทความนี้จึงมุ่งศึกษาแนวความคิดคุณภาพการบริการมิติต่างๆ ในอุตสาหกรรมกีฬาที่มีผลต่อประสบการณ์การเข้าชมกีฬาหรือใช้บริการด้านการกีฬา ด้วยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการบริการ บุคลากรบริการ สิ่งแวดล้อมการบริการ ความพึงพอใจของผู้ชม และความตั้งใจเชิงพฤติกรรม โดยพบว่าคุณภาพการบริการด้านผลิตภัณฑ์หลัก บุคลากรบริการ และสิ่งแวดล้อมการบริการกีฬา เป็นมิติคุณภาพการบริการที่สำคัญที่นักวิจัยและนักวิชาการด้านการกีฬานิยมศึกษา เนื่องจากทั้ง 3 มิติ มีผลโดยตรงต่อการรับรู้คุณภาพการบริการ อันนำไปสู่ระดับความพึงพอใจของผู้ชม และการกลับมาชมซ้ำ การแนะนำบอกต่อ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อภาคอุตสาหกรรมบริการด้านการกีฬาในการนำข้อมูลมาวางกลยุทธ์ในการพัฒนาคุณภาพการบริการเพื่อการรักษาฐานผู้ชมและการขยายกลุ่มผู้ชมเพื่อสร้างผลกำไรให้กับธุรกิจต่อไปในอนาคต</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; Service Quality is a significant variable that affects spectator’s satisfaction and behavioral intentions who is the valuable customer in sport industry especially in sport completion, sport stadium and sport services or exercise segments. This journal aims to study various service quality dimensions in sport industry that influenced on spectator experience in watching or participating sports. The literature review involved service quality, service personnel, sportscape, spectator satisfaction and behavioral intentions. From literature synthesis found that service quality in sport industry mainly execute in 3 dimensions: core product, service personnel and sportscape. These dimensions directly affected to spectator perceived service quality and the level of satisfaction, repeat attendance and recommendation. All those benefits to sport service industry by leveraging information to set strategy for developing service quality to retain&nbsp; spectators and expand spectator in order to create business profits in the future.</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/177064 ภาพลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวชุมชนบ้านนางอย อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร (Destination Image For Tourism: Na Ngoi Village, Tao Ngoi Sub-District, Sakon Nakhon) 2020-01-07T17:08:56+07:00 พิมพ์อมร นิยมค้า (Pim-Amorn Niyomkar) pimamorn.n@ku.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; วัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อค้นหาภาพลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวชุมชนบ้านนางอย อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนครในมุมมองของคนในพื้นที่ ให้มีความชัดเจนอันจะนำไปสู่การส่งเสริมตลาดการท่องเที่ยวของจังหวัดสกลนคร ขอบเขตในการศึกษาคือชุมชนบ้านนางอย อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร ผู้ให้ข้อมูลเชิงลึกคัดเลือกแบบเจาะจงและกำหนดเป็นโควตา จำนวน 30 คน จากผู้เกี่ยวข้องหลักได้แก่ ผู้นำชุมชน ชาวบ้าน ผู้เฒ่าผู้แก่ ปราชญ์ชาวบ้านในตำบลนางอย ตัวแทนจากองค์กรท้องถิ่น/ภาครัฐและตัวแทนจากโรงงานหลวงอาหารสำเร็จรูปที่ 3 (เต่างอย) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพคือแบบสัมภาษณ์เพื่อหาความสำคัญของพื้นที่และดำเนินวิธีการค้นหาภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวของบ้านนางอย</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลจากการวิจัยสรุปได้ว่า ผู้ให้ข้อมูลเชิงลึกมีการกำหนดคำตอบที่ตรงกันในเรื่องของภาพลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวบ้านนางอยคือโรงงานหลวงอาหารสำเร็จรูปที่ 3 (เต่างอย) ภาพลักษณ์ด้านวิถีชีวิต คือการทำการเกษตรและศิลปวัฒนธรรมวิถีชีวิตของคนในชุมชน ภาพลักษณ์ด้านขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ คือประเพณีไหลเรือไฟบกเพื่อบูชาพระพุทธเจ้า ภาพลักษณ์ด้านสินค้าท้องถิ่นคือข้าวกล้องงอก สบู่มะเขือเทศ และไม้กวาด เป็นต้น ปัจจัยหลักที่ทำให้นักท่องเที่ยวมายังชุมชนนางอย คือการมาขอสิ่งศักดิ์สิทธ์ (การขอหวยกับ พญาเต่างอย) ด้านกระบวนการสร้างภาพลักษณ์ของชุมชนบ้านนางอยควรมีการกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวให้ชัดเจน หาจุดยืน จุดเด่นของตนเอง และสร้างการรับรู้ร่วมกันโดยการนำจุดเด่นของตนมาเป็นจุดขายและจัดงานประเพณีที่สำคัญของหมู่บ้านอย่างสืบเนื่องเพื่อเป็นการตอกย้ำภาพลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวเพื่อให้นักท่องเที่ยวรับรู้และจดจำ ด้านแนวทางการ&nbsp; พัฒนาการท่องเที่ยวของชุนชนบ้านนางอย&nbsp; ควรนำเสนอความเป็นตัวตนของคนในชุมชน วิถีชีวิตที่เป็นรากเหง้าที่มีความเรียบง่าย สงบ เป็นเสน่ห์ของชุมชน โดยนำเสนอสินค้าที่สะท้อนแนวคิดของสังคมของชุมชนบ้านนางอย เพื่อเสนอให้นักท่องเที่ยวเห็นถึงลักษณะเด่นของชุมชนได้อย่างชัดเจนและสร้างความสนใจให้เกิดแรงกระตุ้นในการเดินทางท่องเที่ยวมายังอำเภอเต่างอยเพิ่มมากขึ้น</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The study was conducted to discover destination images for tourism: Na Ngoi Village, Tao Ngoi, Sakon Nakhon. Also, the researcher aimed to investigate ways or methods promoting the tourism images of the community. With these objectives, the clearer tourism images could be determined, so this could help promote tourism marketing in Sakon Nakhon. In so doing, the researcher selected villagers in Na Ngoi Community to be the research population, and adopted the random sampling method to purposively choose the 30 samples of whom. Those samples included the village heads, the villagers, the older people, the village scholars, the representatives of the local and official organizations, and the representatives of the Third Royal Factory (Tao Ngoi) Sakon Nakhon. In data collection, the researcher adopted the two qualitative tools that were (1) the interview form and (2) the focus group discussion.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; After the analysis, the results showed some points concerning the community tourism images and its identities. For the former, the community representatives similarly thought that the tourism image of the community was the Third Royal Factory (Tao Ngoi) Sakon Nakhon. For the image of Baan Na-Ngoi Community, they said in the same way that it was art and cultural and traditional activities reflecting the villagers’ livelihood, such as&nbsp; Lai-Rue-Fai ceremony that presented the way they showed respect to the Buddha.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Additionally, the findings indicated some issues concerning the tourism image promotion and public relations. The main points of the tourism products should be clearly determined, and the mutual awareness of which should be created. In addition, the results revealed there was a slogan for creating the mutual awareness that stated, “The Royal Initiative Projects are very precious. The memorials are very beautiful. As regards the public relations, the findings revealed that Lai-Rue-Fai festival was chosen as the first one to be publicized while volunteer activities with was the Third Royal Factory (Tao Ngoi) Sakon Nakhon took the second place. Moreover, the villagers could choose or create any products that reflected concepts of their social community, so the tourists could obviously see or perceive the village’s dominant characteristics. Also, the products could attract more tourists to visit Tao Ngoi.</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/221355 ศักยภาพของวัตถุสำเร็จรูปและวัสดุเก็บตกต่อความทรงจำระดับปัจเจกกับความทรงจำร่วมของคนในสังคม กรณีศึกษาจากผลงานของ โจเซฟ บอยส์ และ มารีนา อบราโมวิก (The potential of ready-made and found object on individual and collective memory in a case study works of Joseph Beuys and Marina Abramovic) 2020-01-07T17:31:01+07:00 พิสณฑ์ สุวรรณภักดี (Pison Suwanpakdee) pisonsuwanpakdee@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; บทความชิ้นนี้ศึกษาผลงานและแนวคิดของศิลปิน 2 ท่าน คือ โจเซฟ บอยส์ (Joseph Beuys, &nbsp;1921-1986) และ มารีนา อบราโมวิก (Marina Abramovic, 1946-ปัจจุบัน) ภายใต้แนวคิดเกี่ยวกับความทรงจำ 2 ลักษณะคือ ความทรงจำระดับปัจเจก (individual memory) และ ความทรงจำร่วมในสังคม (collective memory) ภายใต้วิธีการสร้างสรรค์จาก การใช้วัตถุสำเร็จรูป (readymade) และวัสดุเก็บตก (found object) โดยใช้วิธีการอ่านความหมายแฝงแบบสัญศาสตร์โครงสร้าง (Structural Linguistics) ผลงานของ โจเซฟ บอยส์ชื่อ How to Explain Pictures to a Dead Hare (Wie man dem toten Hasen die Bilder erklärt, 1965) และผลงานของ มารีนา อบราโมวิก ในชื่อว่า Balkan Baroque (1997) จากการศึกษาพบว่าผลงานของ โจเซฟ บอยส์มีลักษณะของความทรงจำส่วนตัวมากกว่างานของ อมบราโมวิก ซึ่งมีลักษณะการวิพากษ์ในด้านสังคมมากกว่า แต่การใช้วัสดุในลักษณะเก็บตกของอบราโมวิกนั้นมีศักยภาพทางความทรงจำเฉพาะตัวที่แสดงภาพความทรงจำและความคิดศิลปินได้ชัดเจนกว่าลักษณะวัตถุสำเร็จรูปของบอยส์ ดังนั้นวัสดุเก็บตกจึงมีศักยภาพในแง่การนำเสนอความทรงจำได้ดีกว่าวัตถุสำเร็จรูปที่แสดงศักยภาพทางความทรงจำได้ด้อยกว่า เพราะวัตถุสำเร็จรูปนั้นไม่สามารถแสดงออกทางอารมณ์ได้ดีเท่า</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This article examines the works and concepts of two artists, Joseph Beuys (1921-1986) and Marina Abramovic (1946-present), under the theory of individual memory and collective memory between the usage of ready-made and found objects materials, with the structure semiotics analysis in Joseph Beuys's work, How to Explain Pictures to a Dead Hare (Wie man dem toen Hasen die Bilder erklärt, 1965) and Marina Abramovic’s work, Balkan Baroque (1997). According to the studies, it has been found that both pieces of works, reflected individual and collective memories with different aspect. Joseph Beuys's work represented more personal memory than Abramovic's work in Balkan Baroque (1997), which indicates more of social criticism. However, the use of Abramovic’s found object has capability to capture individual memory by showing images of recollection and artistic ideas more specifically than the ready-made material characteristics of Beuys’s work. Therefore, the found object material has better potential in presenting memory than ready-made material which shows inferior in memory capacity and less ability to express emotion when compared with the found object material.</p> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/193431 Financial Ratio Analysis that Challenges the Dairy Farmers to Enhance their Ability in Financial Management 2020-01-08T08:51:15+07:00 Phanita Soonthornchai phanitaso@rmu.ac.th Kriengkrai Namnai kriengkrai.na@rmu.ac.th Ratawan Apichottanakun isratawan2523@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; For sustainable dairy farm businesses in rural areas, farmers need skills both in farm management and financial management which are essential knowledge that can enrich the existing knowledge of the farmers. The research attempts to find out how the financial ratio analysis can help dairy farmers enhance their ability in financial management of dairy farms more efficiently.&nbsp; The target group comprises 10 outstanding dairy farms in Maha Sarakham Province of Thailand , selected based on such criteria as the ability in developing a body of financial knowledge, having&nbsp; financial data records, favorable attitude in the use of financial data, patience, and following criteria as a co-researcher status. In addition, the farmer subjects were voluntarily participated in synthesizing knowledge, searching for financial skills needed, financial analysis as well as suggesting guidelines to improve their ability in farm management and problem solutions.&nbsp; The obtained qualitative data are analyzed through a focus group discussion and knowledge management of ten volunteers from farms regardless of sizes, and the researcher. The research results reveal that three aspects of financial ratio analysis are needed; namely, the liquidity ratio, the profitability ratio and the solvency ratio, and that these three ratios are related.</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/197089 การศึกษาวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรมจากสัญชาตญาณความเป็นแม่ สู่การหล่อหลอมด้วยสังคมวัฒนธรรม โดยการเปรียบเทียบจากความดิบสู่ความสุก (The Works of Art Analysis: Motherly-instinct-to-being-cultivated Development as Rawness-to-ripeness Process) 2020-01-08T08:59:47+07:00 ฤทัยรัตน์ คำศรีจันทร์ (Ruthairat Kumsrichan) ruthairat.kumsrichan@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การทำความเข้าใจในคุณค่าของความรักที่แม่มีต่อลูกและความหมายที่เชื่อมโยง กับตัวเทคนิควิธีการ จากการศึกษาวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรมที่แสดงออกถึงความเป็นแม่ &nbsp;โดยการเปรียบเทียบจากความดิบ (หยาบ) สู่ ความสุก (ละเอียดประณีต) ผ่านเทคนิควิธีการ 3 เทคนิค คือ เทคนิคดินเผา เทคนิคงานผ้าและสื่อผสม ซึ่งเป็นผลงานที่ถูกสร้างขึ้นมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยมีการนำเทคนิคกระบวนการมาตีความ เพื่อหาคุณค่าและความหมายของตัวเทคนิคกระบวนการ จนทำให้สามารถค้นพบปรัชญาในแต่ละเทคนิคกระบวนการของการสร้างงานศิลปะที่ไม่จำเป็นต้องมีความสมบูรณ์แบบ แต่สามารถสะท้อนคุณค่าต่อสังคมและเกิดความหมายใหม่ที่ตรงต่อการแสดงออกของตัวผู้สร้างงาน เป็นหัวใจหลักสำคัญ&nbsp; ซึ่งแต่ละเทคนิคกระบวนการล้วนเริ่มจากความดิบสู่ความละเอียด จนกระทั่งเกิดความประณีตในการสร้างสรรค์ผลงาน ในทุกขั้นตอนของกระบวนการสร้างงานศิลปะ&nbsp; เปรียบเสมือนการเลี้ยงดูลูก&nbsp; แรกเริ่มแม่มีความรักที่เกิดจากสัญชาตญาณเพียงอย่างเดียวเป็นตัวขับเคลื่อน จนกระทั่งเกิดประสบการณ์การเรียนรู้จากสังคม เป็นตัวแปรทำให้ความรักทรงพลังและแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้น ดังนั้นเทคนิคกระบวนการจากดิบสู่สุกหรือความหยาบสู่ความประณีต จึงสามารถนำมาสร้างกลวิธีในการแสดงสภาวะทางความรู้สึก ซึ่งเป็นนามธรรมของความรักให้ปรากฏเป็นรูปธรรมที่แตกต่างกัน&nbsp;&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This article aims to understand motherly love towards children, and meanings related to art techniques. By investigating the development of rawness (crudity) to ripeness (cultivation) in the motherly projected works of art. Three art techniques, ceramic, textile, and mixed media, are analyzed and interpreted to explore the values and meanings. The philosophy of each technique is not necessary to be perfect, but be able to present value to the society and mainly create new meaning conformed to artist’s identity. Each technique originates from crudity. The crudity, then, develops into cultivation. During process of creation, the work is exquisitely created. The process can be compared as taking care of children. Firstly, motherly love is driven by instinct. The love, then, is strengthened by experienced. On the one hand, the rawness-to-ripeness process (the crudity-to-cultivation technique) is able to shape emotional state, especially ideal love, to be several concrete works.</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/195171 กายภาพของนามธรรมในผลงานจิตรกรรม จอร์เจีย โอคีฟ (Physical Abstraction in Georgia O’Keeffe’s Painting.) 2020-01-08T09:08:59+07:00 วัชราพร อยู่ดี (Watcharaporn Yoodee) watcharaporn.yoo@dpu.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์วิธีการแสดงออกของศิลปินเกี่ยวกับรูปแบบการใช้รูปทรงกับพื้นที่ว่าง ในผลงานจิตรกรรมของ จอร์เจีย โอคีฟ โดยศิลปินได้ใช้รูปทรงจากธรรมชาติทั้งที่ยังมีชีวิตและเคยมีชีวิต มาจัดวางประกอบกับภาพภูมิทัศน์ในมุมมองต่างๆ จนเกิดลักษณะเฉพาะที่ให้ความรู้สึกของภาพนามธรรม กรณีศึกษาผลงานชุด Pelvis series ซึ่งสร้างสรรค์ขึ้นในช่วง ปี ค.ศ. 1943 -1947 ผลงานที่เลือกมา 5 ชิ้น ได้แก่ 1.Pelvis with Moon 2.Pelvis with the Distance 3.Pelvis II 4.Pelvis series, Red with Yellow และ 5.Pelvis series การศึกษานี้ใช้วิธีการมองรูปแบบการใช้พื้นที่ว่างด้วยลักษณะของที่ว่างบวกและที่ว่างลบ ซึ่งเกิดจากวิธีการต่างๆ ในการนำเสนอรูปทรงของศิลปิน ได้แก่ การขยายขนาด การใช้เพียงบางส่วน การให้รายละเอียดน้ำหนักแสงเงา การวางตำแหน่ง และการกำหนดทิศทาง ผลการศึกษาพบว่า รูปทรง (กระดูกเชิงกราน) กับพื้นที่ว่าง (ท้องฟ้า) สามารถทำงานที่ส่งผลกระทบต่อกันหรือมีปฏิกิริยาโต้ตอบกันจากมิติที่กว้าง แคบ ตื้น ลึก ใกล้ ไกล จนทำให้ทั้งสองส่วนกลายเป็นที่ว่างสองนัย ที่ค่อยๆ พัฒนามาเป็นลำดับตามปีที่สร้างสรรค์งานในแต่ละชิ้น</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purpose of this article is analyze visual expression of an artist pertaining to shape and space by studying Georgia O’Keeffe’s paintings, who employs natural objects, either living or once living, in the composed landscape via various perspectives until they yield unique characteristics that could foster specific feelings rooted from the paintings abstract quality.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The case study was done on O’Keeffe’s Pelvis series created between 1943 and 1947 focusing on five selected works: Pelvis with Moon; Pelvis with the Distance; Pelvis II; Pelvis series Red with Yellow; and Pelvis series.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The study took a close look at her creation of shape --- positive and negative on which is the result of the artist’s methods to present a pelvic shape by expanding its sizes, creating light and shadow along with its position and direction.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The study shows that the shape (pelvis) and the space (sky) mutually impact and interact because the artist created dimensional composition that interplays with of length, breadth, depth, and height together with distance. Her shape and space then could be both positive and negative. The double nature of O’Keeffe shape and space had been developed through years.</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/188910 สภาพการออกกำลังกายของผู้สูงอายุในชุมชนภาคเหนือของประเทศไทย (Exercise condition of older people dwelling-community in the Northern) 2020-01-08T09:27:04+07:00 วิญญ์ทัญญู บุญทัน (Winthanyou Bunthan) winn.mu.cu.swu@hotmail.com ภัทรกุล ไฝเครือ (Pattarakul Faiklue) winn.mu.cu.swu.kku@gmail.com พัชรี รัศมีแจ่ม (Patcharee Rasmejam) winn.mu.cu.swu.kku@gmail.com ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์ (Tassana Choowattanapakorn) winn.mu.cu.swu.kku@gmail.com สุพจน์ ดีไทย (Supot Deethai) winn.mu.cu.swu.kku@gmail.com อารยา ทิพย์วงศ์ (Araya Tipwong) winn.mu.cu.swu.kku@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการมีพฤติกรรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลบ้านเหล่า อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้สูงอายุต่างช่วงวัย กลุ่มประชากรเป็นผู้สูงอายุในตำบลบ้านเหล่า อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา จำนวน 1,326 คน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบประเมินพฤติกรรมการออกกำลังกาย จำนวน 1 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ด้วยวิธีการ Scheffe ผลการวิจัย พบว่า ร้อยละ 53.8 เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 69.43 ปี เป็นผู้สูงอายุตอนต้น ร้อยละ 60.18 ผู้สูงอายุตอนกลาง ร้อยละ 25.72 ผู้สูงอายุตอนปลาย ร้อยละ 14.10 ด้านพฤติกรรมการออกกำลังกายพบว่าใน 1 เดือนที่ผ่านมามีการออกกำลังกาย ร้อยละ 63.70 ร้อยละ 32.24 ออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยาน โดยใช้เวลาแต่ละครั้งมากกว่า 30 นาที ร้อยละ 42.24 ความถี่ในการออกกำลังกายมากกว่า 5 ครั้งต่อสัปดาห์ ร้อยละ 30.28 และมีความเพลิดเพลินในการออกกำลังกาย คิดเป็นร้อยละ 97.98 ซึ่งกลุ่มผู้สูงอายุตอนต้น กลุ่มผู้สูงอายุตอนกลาง และกลุ่มผู้สูงอายุตอนปลายมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายเท่ากับ 11.12 คะแนน 10.50 คะแนน และ 6.35 คะแนน ตามลำดับ โดยผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายระหว่างกลุ่มวัย พบว่า ผู้สูงอายุที่อยู่ในกลุ่มวัยแตกต่างกันมีความค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างน้อย 2 กลุ่มวัยที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายคู่ พบว่า &nbsp;&nbsp;กลุ่มผู้สูงอายุตอนต้นมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายแตกต่างกันกับกลุ่มผู้สูงอายุตอนปลาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กลุ่มผู้สูงอายุตอนกลางมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายแตกต่างกันกับกลุ่มผู้สูงอายุตอนปลาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่กลุ่มผู้สูงอายุตอนต้นมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายไม่แตกต่างกันกับกลุ่มผู้สูงอายุตอนกลาง จากผลการศึกษา เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่มีความเกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพของประชาชนควรปฏิบัติงานในเชิงรุกในการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุทุกราย โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุตอนปลาย (อายุตั้งแต่ 80 ปีขึ้นไป) และผู้สูงอายุที่ไม่ได้ออกกำลังกาย &nbsp;ให้มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่องเพื่อการมีสุขภาพที่แข็งแรงและมีคุณภาพชีวิตที่ดี</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purpose of this research was to investigate the condition of exercise behavior among older people in Ban Lao Subdistrict, Mae Chai Subdistrict, Phayao Province and to compare the average scores of exercise behavior of older people in different age groups. The population was 1,326 older people in Ban Lao Subdistrict, Mae Chai District, Phayao Province. The research instruments were demographic and the exercise behavior assessment. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation and one-way analysis of variance (One-way ANOVA) by Scheffe method. The results of the study showed that there were 53.8 percent female. The average age was 69.43 years. They were divided into the young-old group at 60.18 percent, middle-old group at 25.72 percent, old-old group at 14.10 percent respectively. In the past one month, 63.70 percent performed exercise and 32.24 percent took over 30 minutes of exercise duration, while 30.28 percent performed 5 times a week. Most of them (97.98 percent) enjoyed their exercise. The young-old, middle-old and old-old groups had the average score of exercise behavior at 11.12, 10.50 and 6.35 points, respectively. The comparison of exercise behavior between age groups was found that there were 2 different age groups showing a statistic significant at .05 level. Considering to a pair of age groups, it was found that young-old group had an average score of exercise behavior different from the old-old group with statistic significant at the level of .05. The middle-old group had different mean scores of exercise behaviors from the old-old group with statistical significance at the level of .05. However, the young-old group had no different average score of exercise behavior from the middle-old group.&nbsp; These findings suggested that the public health personals should be more proactive in promoting health behaviors on all older people in community, especially for the old-old group (more than 80 years old) and those who did not regularly. These are the recommends to increase health and a good quality of life.</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/203715 ความหวัง จากโลกหายนะในผลงานจิตรกรรม (Hope from Cataclysmic World in Paintings) 2020-01-08T09:40:42+07:00 วิทยา หอทรัพย์ (Witthaya Hosap) witthayahosap@gmail.com อิทธิพล ตั้งโฉลก (Ithipol Thangchalok) witthayahosap@gmail.com ถาวร โกอุดมวิทย์ (Thavorn Ko-udomvit) witthayahosap@gmail.com ชัยยศ อิษฏ์วรพันธุ์ (Chaiyosh Isavorapant) witthayahosap@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; หากย้อนกลับไปในอดีต การเกิดภัยพิบัติในต่างแดนเป็นเรื่องยากที่คนต่างพื้นที่จะรับรู้ได้ เนื่องด้วยการสื่อสารยังไม่ก้าวหน้าเช่นปัจจุบัน การกำเนิดของภาพถ่ายและเทคโนโลยีทำให้การส่งสัญญาณเกี่ยวกับภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในพื้นที่ต่าง ๆ ได้รับการเผยแพร่ไปทั่วโลก นั่นทำให้เรารับรู้ได้ถึงภัยพิบัติที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและรุนแรงขึ้นทุกที อย่างไรก็ตาม เรื่องราวหายนะจากภัยพิบัติทางธรรมชาติได้ถูกบันทึกไว้ในผลงานจิตรกรรมจำนวนมาก ทั้งจากความเชื่อและคำทำนายเกี่ยวกับวาระสุดท้ายของโลก รวมถึงการสร้างสรรค์งานจากเหตุการณ์จริงในบทความฉบับนี้ ผู้เขียนได้ศึกษาผลงานจิตรกรรมของ เปาโล อุชเชลโล (Paolo Uccello) ปีเอโร ดิ โกซิโม (Piero di Cosimo) ธอมัส โคล (Thomas Cole) และมะนะบุ อิเคดะ (Manabu Ikeda) ด้วยการวิเคราะห์รูปทรงและสัญลักษณ์ที่ปรากฏในภาพ จากการศึกษาพบว่าภาพจิตรกรรมดังกล่าวไม่เพียงแสดงภาพหายนะที่มีความสับสนวุ่นวายและความอันตรายเท่านั้น หากแต่ยังสอดแทรกความหวังและทางรอดจากเหตุการณ์ในภาพเขียนดังกล่าวด้วย&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Natural disaster in a country, at past, was difficult to be perceived by foreigners because of undeveloped communication. Presently, the happened disaster is visualized over the world by photo and other developed technologies, so people are able to perceive its continuity and annihilation. The cataclysm from occurrence is also recorded in paintings. Besides, some paintings are inspired by belief and prophecy about the world apocalypse. This article aims to study the works by Paolo Uccello, Thomas Cole, Piero di Cosimo, and Manabu Ikeda. By analyzing the shapes and symbols appeared in their paintings, this article found that chaos and danger of the cataclysm are pictured. Furthermore, hope and salvation are also harmonizingly pictured in the paintings.&nbsp;</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/152039 การพัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง ทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีภูเก็ต (The Development of Computer-Based Learning Packages Via Computer Network on Visual Element for Matthayom Suksa 1 Student Satree PhuKet School) 2020-01-08T09:47:22+07:00 สกาวทิพย์ สังคปาล (Sagawtip Sangkapan) grsagaw@hotmail.com ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ (Taweewat Watthanakuljaroen) taweewat.wat@stou.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง ทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีภูเก็ต ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีภูเก็ต ที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเรื่อง ทัศนธาตุ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง ทัศนธาตุ</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนสตรีภูเก็ต ที่กำลังศึกษาวิชาทัศนศิลป์ ในภาคการศึกษาที่ 1/2561 จำนวน 39 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง ทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน สตรีภูเก็ต (2) แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E<sub>1</sub>/E<sub>2 </sub>ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง ทัศนธาตุ มีประสิทธิภาพ 81.00/81.33 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง ทัศนธาตุ มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายว่ามีคุณภาพในระดับมาก</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purposes of this research were (1) to develop computer-based Learning Packages Via Computer Network on Visual Element for Matthayom Suksa 1 Student Satree PhuKet School on the pre-determined efficiency criterion, (2) to study the learning progress of Matthayom Suksa 1 Student Satree PhuKet School learning from the computer-Based Learning Packages Via Computer Network on Visual Element and (3) to study the opinions of the students who learned from the computer-based Learning Packages Via Computer Network on Visual Element.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research sample consisted of 39 Matthayom Suksa 1 Student at Satree PhuKet School who enrolled in the Visual Art Course during the first semester of the 2018 academic year, obtained by cluster sampling by use classroom to sampling. Research instruments comprised (1) a computer Computer-Based Learning Packages Via Computer Network on Visual Element for Matthayom Suksa 1 Student Satree PhuKet School, (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing, and (3) a questionnaire on student’s opinions toward the computer-Based Learning Packages Via Computer Network. Statistics employed for data analysis were the E<sub>1</sub>/E<sub>2 </sub>efficiency index, mean, standard deviation, and t-test.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Research findings showed that (1) the developed computer-based Learning Packages Via Computer Network on Visual Element, was efficient at 81.00/81.33, thus meeting the set efficiency criterion of 80/80, (2) the students learning from the computer-based Learning Packages Via Computer Network on Visual Element, achieved learning progress significantly at the .05 level, and (3) the students had opinions that the computer-based Learning Packages Via Computer Network was appropriate at the high level.</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/221862 พื้นที่ในผลงานของ แอนเซลม์ คีเฟอร์ ริชาร์ด ลองและโนะบุโอะ เสะคิเนะ (Spaces in artworks of Anselm Kiefer, Richard Long and Nobuo Sekine) 2020-01-08T09:51:41+07:00 สมพร แต้มประสิทธิ์ (Somporn Taemprasit) somporn.taem@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;บทความนี้มุ่งศึกษาประเด็นการสร้างสรรค์เกี่ยวกับพื้นที่ในผลงานของศิลปิน 3 คน ได้แก่ แอนเซลม์ คีเฟอร์ ในผลงานชื่อ เจอริโค (ค.ศ. 2006) คนที่สอง คือ ริชาร์ด ลอง ในผลงานชื่อ เส้นที่เกิดจากการเดิน (ค.ศ. 1967) และคนสุดท้าย โนะบุโอะ เสะคิเนะ ในผลงานชื่อ มาเธอร์ เอิร์ธ (ค.ศ. 1968) โดยมุ่งเน้นประเด็นการใช้พื้นที่ในการสร้างสรรค์ พื้นที่ในผลงานของแต่ละคนมีลักษณะทางกายภาพที่แตกต่างกันออกไป ทั้งที่เป็นสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นที่เชื่อมโยงเอาความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ พื้นที่ และเวลาไว้ด้วยกัน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; วิธีการศึกษาได้อาศัยแนวคิดเกี่ยวกับพื้นที่ของนักปรัชญาหลัก 3 คน คือ มาร์ติน ไฮเด็กเกอร์ แอน สเตนรอส และฟิลลิปป์ เดสโคล่า เพื่อทำการวิเคราะห์ ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้</p> <ol> <li>พื้นที่ทางความคิดที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์ สามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะภายในกับวัตถุที่เป็นรูปภายนอก</li> <li>พื้นที่ทางธรรมชาติ สามารถเป็นวัสดุในการสร้างสรรค์ศิลปะได้ ซึ่งเชื่อมโยงพื้นที่เล็กๆ สู่การเป็นตัวแทนพื้นที่โลกได้</li> <li>ร่างกายสามารถเป็นเครื่องมือในการสร้างสรรค์ศิลปะได้ และเชื่อมโยงธรรมชาติกับมนุษย์เข้าด้วยกัน</li> <li>พื้นที่มีความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุและพื้นที่ว่าง (อากาศ) ปรากฏเป็นพื้นที่เชิงบวกกับพื้นที่เชิงลบ</li> </ol> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This article focuses on the issues about space creations in 3 artworks including Anselm Kiefer’s “Jericho” (2006), Richard Long’s “A Line Made by Walking” (1967) and Nobuo Sekine’s “Phase : Mother” (1968). Space in each artwork has the distinctive physical appearance in both natural surroundings and man-made things which are the relationships between experiences, space and time.</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The concepts of space from Martin Heidegger, Anne Stenros and Phillipe Descola were the methods used to analyse the artworks and the results of studies are concluded as follows:</p> <ol> <li>Sentimental space, which is related to experiences, can make up the association between condition inside the material and the appearance outside.</li> <li>Natural surroundings can be the materials in art creation and the small pieces of land are able to represent the space in global scale as well.</li> <li>Body can be the tool of art creation thus nature and human body could be connected together.</li> <li>The relationship of space and object could be interpreted as positive and negative space.</li> </ol> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/200298 ความต้องการในการจัดตั้งศูนย์วิทยบริการสำหรับวิทยาลัยชุมชนสงขลา (The Needs for Establishing Learning Resources Center for Songkhla Community College) 2020-01-08T09:58:26+07:00 สรวรรณ ปานถาวร (Sorawan Pantaworn) all-leving@hotmail.com ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ (Taweewat Watthanakuljaroen) taweewat.wat@stou.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการในการจัดตั้งศูนย์วิทยบริการสำหรับวิทยาลัยชุมชนสงขลา</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ อาจารย์วิทยาลัยชุมชนสงขลาที่ปฏิบัติหน้าที่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ทั้งหมด จำนวน 90 คน และนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนสงขลา จำนวน 222 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามศูนย์วิทยบริการสำหรับวิทยาลัยชุมชนสงขลา สถิติที่ใช้<br> ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัย ปรากฏว่า ความต้องการในการจัดตั้งศูนย์วิทยบริการสำหรับวิทยาลัยชุมชนสงขลา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อาจารย์มีความต้องการในระดับมากทุกด้าน ดังนี้ (1) ด้านกรอบการดำเนินงานของศูนย์วิทยบริการ กำหนดปรัชญา คือ เร่งพัฒนาวิชาการ ตอบสนองการศึกษา แหล่งค้นคว้าเทคโนโลยี ปณิธาน คือ มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา พันธกิจของศูนย์วิทยบริการ คือ เป็นแหล่งรวบรวมสื่อการสอนที่ทันสมัย ประโยชน์ คือ การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน (2) ด้านอาคารสถานที่ศูนย์วิทยบริการ อาจารย์มีความต้องการให้มีแนวทางการจัดสร้างอาคารที่พัฒนาจากห้องสมุดเดิมที่มีอยู่ โดยรูปแบบของศูนย์วิทยบริการเป็นแบบศูนย์วิทยบริการแบบสมบูรณ์ (3) ด้านการบริหารจัดการของศูนย์วิทยบริการ อาจารย์มีความต้องการงานธุรการ งานการออกแบบระบบการเรียนการสอน งานผลิตและบริการสื่อการศึกษา (4) ด้านอัตรากำลัง อาจารย์มีความต้องการให้งานธุรการ งานวิชาการ งานผลิตและบริการสื่อการศึกษา มีหัวหน้างานแต่ละฝ่าย โดยที่มาของเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์วิทยบริการ จะดำเนินการคัดเลือก/ โอนย้ายเจ้าหน้าที่ในอัตราใหม่ (5) ด้านการบริการ อาจารย์และนักศึกษามีความต้องการให้มีการจัดการงานหนังสือรับ - ส่งของหน่วยงาน มีการจัดแหล่งสืบค้นทางวิชาการสารสนเทศเชื่อมโยงกัน ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน (6) ด้านการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค อาจารย์และนักศึกษามีความต้องการให้มีการให้ความรู้และทักษะในการใช้สื่อการสอน (7) ด้านสื่อการศึกษา อาจารย์และนักศึกษามีความต้องการให้มีการจัดหาสื่อและสิ่งอำนวยความสะดวก มีห้องเรียนอัจฉริยะ มีระบบฐานข้อมูลที่สามารถสืบค้นออนไลน์ได้ เปิดให้บริการ คือ&nbsp; &nbsp;วันจันทร์ - ศุกร์ 08.00 - 15.00 น. วิธีการยืม/จองสื่อการสอน คือ การยืมด้วยตนเอง กำหนดการยืมคืน คือ จำนวน 10 วัน</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The objectives of this study was to investigate the needs for establishing learning resources center for Songkhla Community College.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research sample consisted of all 90 instructors and 222 students of Songkhla Community College during the first semester of the 2017 academic year, obtained by simple random sampling. The employed research instrument was a questionnaire on the needs for learning resource center for Songkhla Community College. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Research findings revealed that the overall need for establishing learning resources center for Songkhla Community College was at the high level. When the needs for specific aspects of the learning resources center were considered, it was found that the instructors perceived the needs to be at the high level for each and every aspect, which could be further elaborated as follows: (1) in the aspect of operational framework of the learning resources center, the items receiving the highest rating mean were the following: the philosophy of the center was to accelerate academic development responsive to education and to be the resource for study of technology; the resolution of the center was the quest for excellence in educational technology and communications; the mission of the center was to be the place for collection of up-to-date instructional media; the usefulness of the center was to enhance learning management efficiency; (2) in the aspect of the buildings and facilities of the center, the instructors would like to enlarge the existing library and add the center as a part of the enlarged library building to establish the complete learning resources center; (3) in the aspect of management structure of the learning resources center, the instructors would like to have the center to comprise the administrative work section, the academic work section, and ,the educational media production and service section; (4) in the aspect of the center personnel, the instructors would like to see that each section has a section head; as for the procurement of the center personnel, they should be selected/transferred from other work agencies to fill the new positions; (5) in the aspect of services, both the instructors and students would like for the center to have the management of corresponding documents, and the organizing of academic reference documents that can be connected to the sources both within and outside the college; (6) in the aspect of solving problems and obstacles, both the instructors and students would like for the center to provide knowledge and skills in using instructional media; and (7) in the aspect of educational media, both the instructors and students would like for the center to procure the media and facilities, to have a genius classroom, to have a database system that can be accessed via online searches; the office hours to be between 8.00 a.m. – 3.00 p.m.; the circulation method for instructional media was that the students borrow and return the media by themselves; and the circulation duration was 10 days.</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/207243 การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย: การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับ (The development of a causal model of satisfaction in the quality of work life of employees of industrial products listed on the Stock Exchange of Thailand: Analysis of Multilevel Structural Equation Models) 2020-01-08T10:03:25+07:00 สุทธิพงษ์ เกียรติวิชญ์ (Suttipong Kiartivich) contact.suttipong@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; งานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของปัจจัยความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยพนักงานกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จำนวน 381 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิอย่างมีสัดส่วน (proportional stratified sampling) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) &nbsp;การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับที่พัฒนาขึ้น</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผลการวิจัย พบว่า โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีค่า c<sup>2</sup> = 199.905, df = 108, c<sup>2</sup> /df = 1.851, CFI = 0.952, TLI = 0.943, RMSEA= 0.052, SRMRW = 0.044 และ SRMRB = 0.124 ค่าสหสัมพันธ์ภายในชั้น (ICC) ของแต่ละตัวแปรสังเกตได้ในโมเดลการวัดความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีค่าระหว่าง 0.056-0.083 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกตัวแปร แสดงว่าข้อมูลมีความสอดคล้องกันสูงและความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยผันแปรตามการรับรู้ของพนักงานแต่ละคน &nbsp;อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ.01 ด้วยค่าสัมประสิทธิ์ขนาดอิทธิพลทางตรงและค่าสัมประสิทธิ์ขนาดอิทธิพลรวม เท่ากับ 0.67 และ 0.41 ตามลำดับ ตัวแปรทั้งหมดในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระดับบุคคล ได้ร้อยละ 38.00 โดยปัจจัยความผูกพันต่อองค์กร เป็นปัจจัยที่สำคัญและส่งผลต่อความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ด้วยค่าสัมประสิทธิ์ขนาดอิทธิพลทางตรงและค่าสัมประสิทธิ์ ขนาดอิทธิพลรวม เท่ากับ 2.854 โดยตัวแปรทั้งหมดในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้ร้อยละ 70 พบว่า ตัวแปรสังเกตได้ทุกตัวในโมเดลการวัดความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีระดับนัยสำคัญที่ .01 และมีความสำคัญในระดับใกล้เคียงกัน โดยมีปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรและบรรยากาศองค์กร ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research aimed to study the causal model and the fitness of the structural equation model of the satisfaction of quality of work life among employees working in the industries registered under the Stock Exchange of Thailand (SET). The sample of this research included 381 employees who worked in the industries registered under SET obtained by the stratified random sampling method. The data collection tool was a rating scale questionnaire. The data was analyzed using computer software for descriptive statistics, Pearson’s correlation coefficient, a confirmatory factor analysis (CFA), and a multilevel structural equation modeling (MSEM).</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The result showed that the multilevel structural equation modeling of the satisfaction of quality of work life among employees working in the industries registered under SET had a good fit (c<sup>2</sup> = 199.905, df = 108, c<sup>2</sup> /df = 1.851, CFI = 0.952, TLI = 0.943, RMSEA= 0.052, SRMRW = 0.044 and SRMRB = 0.124). The intraclass correlation (ICC) among the observed variables in the measurement model of satisfaction of quality of work life among employees working in the industries registered under SET were between 0.056 - 0.083 which were statistically significant at .01 level in all variable. This implied the good fit of the model. The satisfaction of quality of work life among employees working in the industries registered under SET was significantly varied by each employee’s own perception at .01 level by the indication of the coefficient of direct effect (0.610) and total effect (0.241). All of the variables in the model were significantly accountable for the variances of the satisfaction of quality of work life among employees working in the industries registered under SET at .01 level while all shared similar degree of impact. Therefore, the organizational attachment and organizational atmosphere affected the satisfaction of quality of work life among employees working in the industries registered under SET.</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/194409 ผลลัพธ์ ผลกระทบ และความยั่งยืนของการลงทุนงานวิจัย: กรณีศึกษาโครงการวิจัย ด้านปลานิล (Outcomes, Impacts and Sustainability of Research Investment: A Case Study of Nile Tilapia Program) 2020-01-08T10:11:24+07:00 สุวรรณา ประณีตวตกุล (Suwanna Praneetvatakul) suwanna.p@ku.th ปิยะทัศน์ พาฬอนุรักษ์ (Piyatat Pananurak) piyatat@knit.or.th กัมปนาท วิจิตรศรีกมล (Kampanat Vijitsrikamol) Kampanat.V@ku.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การประเมินผลสำเร็จของการลงทุนงานวิจัยเริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำนักงบประมาณมักสอบถามเกี่ยวกับผลกระทบของกาวิจัย การประเมินโครงการวิจัยจึงมีความสำคัญ งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลลัพธ์ ผลกระทบ และความยั่งยืนของโครงการ กรณีศึกษาโครงการปลานิล ข้อมูลทุติยภูมิรวบรวมจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกษตรกร และผู้เชี่ยวชาญ วิธีวิจัยอาศัยหลักเกณฑ์การประเมินของ OECD ผลการวิจัย พบว่า เมื่อพิจารณาด้านความสอดคล้อง (relevance) ชุดโครงการฯมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาปลานิลในกลยุทธ์ด้านการเพิ่มผลผลิต ชุดโครงการฯมีประสิทธิผล (effectiveness) โดยโครงการย่อยต่างๆในชุดโครงการฯเมื่อประสานรวมเข้ากันแล้วสามารถตอบโจทย์และบรรลุวัตถุประสงค์ในการพัฒนาอาชีพทางเลือกการเลี้ยงปลานิลได้ ชุดโครงการฯมีประสิทธิภาพ (efficiency) ได้สร้างผลผลิตและผลลัพธ์เชิงวิชาการ และมีการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์โดยชุดโครงการฯได้สร้างผลกระทบ (impacts) ทางเศรษฐกิจและสังคม &nbsp;มีความคุ้มค่าต่อการลงทุน อย่างไรก็ตาม งานวิจัยบางโครงการยังไม่มีความยั่งยืน (sustainability) โดยเมื่อโครงการจบลงแล้ว การใช้ประโยชน์จากผลงานก็จบสิ้น กล่าวคือ เกษตรกรไม่มีแรงบันดาลใจในการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะแนวทางการสนับสนุนงานวิจัยด้านทรัพยากรสัตว์น้ำ (ปลานิล) ของประเทศไทยในอนาคต ได้แก่ สกว.ควรสนับสนุนงานวิจัยด้านปลานิลตั้งแต่ระดับต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง งานวิจัยด้านเศรษฐกิจ และโครงสร้างการตลาดปลานิล นับเป็นโจทย์วิจัยที่มีความสำคัญในอันดับต้นๆ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Impact evaluation of research investment has played an important role in Thailand. Especially, Budget bureau often have questions about the impacts of the research. Evaluation of research projects is important. The paper aims to evaluate the impacts of Tilapia program under Thailand Research Fund (TRF). Secondary data are obtained from TRF and primary data are gathered by interviewed with stakeholders, farmers and experts. The Organization of Economic Co-operation and Development (OECD) has developed the key impact indicators. This research method applies the OECD's evaluation criteria. The results show that, when considering the relevance indicator, the project was in line with the Tilapia development strategy. The project is effective since there are the integration of different sub-projects in order that the objectives of the Tilapia aquaculture development program can be met.&nbsp; The program is efficient since the project has generated the outputs in terms of technology and innovation as well as the academic outcomes. The project has generated economic and social impacts which is worth to the society. Nevertheless, the sustainability issue of the project is the room to develop further since some research project seemed to discontinue after the project terminated. This leads to the future recommendations that donor agencies should constantly support the research on aquatic resources (Tilapia) in Thailand. TRF should support research on tilapia from the upstream to downstream. Particularly, economic aspects and the Tilapia market structure is a crucial research area in the near future.</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/177584 การออกแบบเรขศิลป์เพื่อนำเสนอภูมิปัญญาวัฒนธรรมการรับประทาน อาหารอีสานสู่สากล (Traditional wisdom in graphic design through E-San dining at the international level) 2020-01-08T10:17:11+07:00 อัจฉรา แก้วดวงดี (Atchara Kaewduangdee) jellyfishidew@gmail.com เรืองลดา ปุณยลิขิต (Rueanglada Punyalikhit) jellyfishidew@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อาหารเป็นสิ่งที่มนุษย์ใช้ในการยังชีพมาตั้งแต่เกิดและการรับประทานอาหารก็เป็นกิจกรรมที่มนุษย์ปฏิบัติกับอาหารที่พวกเขาหาและปรุงมาอย่างยาวนานเช่นกันพฤติกรรมเหล่านี้เกิดขึ้นกับมนุษย์ทุกคนทั่วโลก&nbsp;&nbsp; &nbsp;แต่ลักษณะทางกายภาพของโลกทั้งสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศทำให้อาหารและการรับประทานอาหารของแต่ละพื้นที่ในโลกแตกต่างกันเกิดเป็นวัฒนธรรมการกินของพื้นที่นั้นๆ ขึ้นมา&nbsp; ซึ่งรวมถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรืออีสานในประเทศไทยเช่นกัน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; บทความ เรื่อง การออกแบบเรขศิลป์เพื่อนำเสนอภูมิปัญญาวัฒนธรรมการรับประทานอาหารอีสานสู่สากลนี้&nbsp; มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาวัฒนธรรมและอาหารการกินของชาวอีสานในประเทศไทยตั้งแต่อดีต ไม่ว่าจะเป็นที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ปรุงอาหาร ภาชนะที่ใช้ปรุงและใส่อาหาร วิธีการรับประทานอาหาร รวมถึงประเพณีสำคัญของชาวอีสานที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งศึกษาในพื้นที่บ้านหัวขัว ตำบลแกดำ อำเภอแกดำ จังหวัดมหาสารคาม และนำความรู้พื้นฐานเหล่านี้ไปประยุกต์ให้การรับประทานอาหารพื้นบ้าน มีรูปแบบที่ร่วมสมัยและน่าสนใจยิ่งขึ้น โดยใช้ทักษะทางการออกแบบเรขศิลป์ (Graphic- design) ทั้งการออกแบบการจัดตกแต่งบนโต๊ะอาหาร &nbsp;การออกแบบการกินอาหารอีสานให้ทันสมัยแต่ยังคงกลิ่นอายความเป็นพื้นบ้านอยู่และการนำวัสดุภายในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการตกแต่งอาหาร เพื่อนำเสนอภูมิปัญญาและวัฒนธรรมการรับประทานอาหารอีสานดังกล่าวออกสู่ภายนอกในระดับสากลโดยผลการศึกษาตอบสมมติฐานที่ว่าการใช้ความรู้ด้านการออกแบบเรขศิลป์ สามารถนำเสนอภูมิปัญญาและวัฒนธรรมการรับประทานอาหารอีสานออกสู่ภายนอก และเกิดการสื่อสารระหว่างชุมชนกับผู้คนภายนอกผ่านการนำเสนอนี้ได้</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; Food is what people eat to live and dining is regarded as an activity that people do after hunting and cooking so far. When “dining” or eating a meal is considered a common activity of human beings globally, types of food and dining cultures vary from region to region due to geographical factors or weather. Thailand Northeastern region or “E-San” also has it’s own distinctive dining culture.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The objective of the thesis “The graphic design for presenting traditional wisdom through E-San dining to the international : A case study of Bann Huakua, Tambon Kaedam, Kaedam District, Mahasarakham province” is to study dining culture of E-san people in Thailand in the past including origin of food ingredients, cookware, important dining cultures, and to utilize designing skills such as decoration of ornaments on the tabletop, using local materials for food decoration and table setting to enhance E-San dining culture more interesting and contemporary yet reserve its unique local style.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; This study shows that by applying the knowledge of graphic design to the local E-San dining culture can effectively present E-San traditional wisdom to the international and promote interaction between locals and none-local people.</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/170643 บทบาทของการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กร การรับรู้การสนับสนุนของเพื่อนร่วมงาน และการรับรู้การสนับสนุนของผู้บังคับบัญชาที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน ผ่านความมุ่งมั่นทุ่มเทของข้าราชการส่วนกลาง กรมการพัฒนาชุมชน (The role of Perceived Organizational Support, Perceived Colleague Support and Perceived Supervisor Support that Effect to Job Performance : The Mediator Role of Dedication of Government officials in Community Development Department ) 2020-01-08T10:23:49+07:00 อัจฉรีย์ มานะกิจ (Atcharee Manakij) atchaaree.noon@gmail.com วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ (Viroj Jadesadalog) viroj_jade@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของการรับรู้การได้รับการสนับสนุนจากองค์กร ที่มีต่อความมุ่งมั่นทุ่มเท บทบาทของความมุ่งมั่นทุ่มเทที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานบทบาท&nbsp; ของการรับรู้การสนับสนุนของเพื่อนร่วมงาน ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพและ บทบาทของการรับรู้การสนับสนุน ของผู้บังคับบัญชาที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างข้าราชการส่วนกลางกรมการพัฒนาชุมชน จำนวน 248 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการวิจัย สถิติวิจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่ายด้วยวิธีนำเข้า</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้การได้รับการสนับสนุนจากองค์กรมีอิทธิพลทางบวกต่อความมุ่งมั่นทุ่มเท ความมุ่งมั่นทุ่มเทมีอิทธิพลทางบวกต่อประสิทธิภาพการทำงาน การรับรู้การสนับสนุนของเพื่อนร่วมงาน มีอิทธิพลทางบวกผลต่อประสิทธิภาพและบทบาทของการรับรู้การสนับสนุนของผู้บังคับบัญชามีอิทธิพล ทางบวกต่อประสิทธิภาพการทำงาน ทั้งนี้สามารถนำประโยชน์จากงานวิจัย รวมทั้งข้อเสนอแนะการวิจัยในอนาคต &nbsp;ไปเป็นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนาองค์กรต่อไป</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purpose of this research studied the influence of perceived organizational support on a dedication, the influence of dedication on job performance, the influence of perceived colleague support on job performance and the influence of perceived&nbsp; supervisor support on job performance. The sample group was a government official who work in department of Community Development Department totally 248 persons.&nbsp; A questionnaire was used as research tool, the statistics was used to analyze the data consisted frequency, percentage, average, mean, standard deviation, Pearson's correlation and simple regression analysis.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The result of this study was as follows: 1) the perceived organizational support was positively correlated with dedication. 2) the role was positively correlated with job performance. 3) the role of perceived colleague support was positively correlated with job performance and 4) the role of perceived&nbsp; supervisor support was positively correlated with job performance. Contributions of these finding for organizations are discussed and conclude with directions for future research.</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/214756 การวิเคราะห์องค์ประกอบทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา (Factor Analysis of Graduate Students’ Understanding and Using Skills of Digital Literacy) 2020-01-07T13:47:39+07:00 สมาธิ นิลวิเศษ (Samathi nilwiset) sutcharom_n@silpakorn.edu ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม (Chaiyos Paiwithayasiritham) chaiyos2010@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จากมหาวิทยาลัยของรัฐ และมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ปีการศึกษา 2561 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) จำนวน 630 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติบรรยาย (Descriptive Statistic) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้โปรแกรมลิสเรล (LISREL)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา พบว่า มีจำนวนองค์ประกอบที่ชัดเจนจำนวน 7 องค์ประกอบ รวมจำนวน 57ตัวแปร ประกอบด้วย องค์ประกอบที่ 1 “การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล” องค์ประกอบที่ 2 “การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล” องค์ประกอบที่ 3 “การสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล” องค์ประกอบที่ 4 “การเลือกใช้สื่อดิจิทัล” องค์ประกอบที่ 5 “การสร้างสรรค์สื่อเทคโนโลยี” องค์ประกอบที่ 6 “ความตระหนักรู้การใช้สื่อดิจิทัล” และ องค์ประกอบที่ 7 “การสร้างสรรค์สื่อเบื้องต้น”</li> <li>ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลการวัด<strong>องค์ประกอบ</strong>ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์พิจารณาได้จากค่าไค-สแควร์ ( =10.213, df=8, p=.250) ซึ่งแตกต่างจากศูนย์อย่างไม่มีนัยสำคัญ ค่าดัชนีวัดความกลมกลืน (GFI) มีค่าเท่ากับ .991 ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) มีค่าเท่ากับ &nbsp;.968 และค่าดัชนีรากของค่าเฉลี่ยกำลังสอง ของส่วนเหลือ (RMR) มีค่าเท่ากับ .13 แสดงว่าโมเดลสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์</li> </ol> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purpose of this research was to analyze the components of graduate students’ understanding and using skills of digital literacy. The research sample consisted of 630 graduate students from public universities and autonomous universities, academic year 2018, acquired by the cluster sampling method. The research tool utilized in this study was a questionnaire on graduate students’ understanding and using skills of digital literacy. Data were analyzed by descriptive statistics, exploratory factor analysis, and confirmed component analysis to check the consistency of the model with empirical data by using LISREL program.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research found that</p> <ol> <li>The results of the Exploration Factor Analysis of graduate students’ understanding and using skills of digital literacy found that there were 7 components and 57 variables, consisting of Component 1 “Digital Literacy”, Component 2 “Use of Digital Technology”, Component 3 “Creating Digital Media”, Component 4 “Choosing Digital Media”, Component 5 “Creating Technology Media”, Component 6 “Awareness of Digital Media Use”, and Component 7 “Basic Media Creation”.</li> <li>The results of Confirmatory Factor Analysis of the model to measure graduate students’ understanding and using skills of digital literacy found that the model was consistent with the empirical data. This can be determined from the chi-square value ( =10.213, df=8, p=.250) which was different from zero with no static significance. The <em>Goodness of Fit Index</em> (GFI) was .991 and the Adjust <em>Goodness of Fit Index</em> was .968. The Root Mean Square.</li> </ol> 2020-01-07T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/164842 “ลงแขกเกี่ยวข้าว” ประเพณีวัฒนธรรมที่ถูกกลืนหายจากสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ (“Long kaek keaw kao” Culture tradition lost from Globalization) 2020-01-08T10:31:29+07:00 เบญจภัคค์ เจริญมหาวิทย์ (Benjapak Charoenmahavit) nidde22@yahoo.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การหายไปของประเพณีวัฒนธรรมการลงแขกเกี่ยวข้าวในสังคมไทยอีสานในปัจจุบันเป็นการศึกษาจากเอกสาร(document research) และการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มตัวอย่างจำนวน 5 คน โดยบทความนี้จะใช้กรอบแนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศคือทฤษฎีสัจนิยม แนวคิดเสรีนิยมใหม่ และแนวคิดวาทกรรมกับอำนาจของมิเชล ฟูโก มาอธิบายการสูญหายไปของประเพณีวัฒนธรรมการลงแขกเกี่ยวข้าวของชาวอีสาน ผลการศึกษาพบว่าการสูญหายของประเพณีวัฒนธรรมการลงแขกเกี่ยวข้าวมาจากทั้งปัจจัยภายในประเทศ และปัจจัยภายนอกประเทศที่ส่งผลกระทบทำให้วิถีชีวิตชุมชนล่มสลายและประเพณีวัฒนธรรมการลงแขกเกี่ยวข้าวก็สูญหายไปพร้อมกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกยุคโลกาภิวัตน์</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This paper aims to analyze disappearance of&nbsp; “Long kaek keaw kao” culture tradition in Thai Esan communities. This study from document research and in-depth interviews with 5 sample groups. This paper concepts are realism, neo-liberalism and The discourse concepts and power of Michal Fucoult. The finding are The culture Tradition of “Long kaek keaw kao” disappearance by external factors and internal factors with the changing world of globalization.</p> <p>&nbsp;</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/178671 แนวทางการจัดการท่องเที่ยววิถีชุมชนไทญ้อ ตำบลดงเย็น อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Guidelines on Tourism Management To Develop Creative Economy for Tai Nyaw in Dong Yen Sub-district, Mueang District, Mukdahan province) 2020-01-08T10:38:12+07:00 อิศรา ทองทิพย์ (Isra Thongthip) numisara@hotmail.co.th ศาสตรา เหล่าอรรคะ (Sastra Laoakka) Sastra.l@msu.ac.th มนตรี ศรีราชเลา (Montri Srirajlao) Montri.s@msu.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาประวัติความเป็นมาของการส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีชุมชนไทญ้อ ตำบลดงเย็น อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร<strong>&nbsp; </strong>2. ศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาการจัดการท่องเที่ยววิถีชุมชนไทญ้อ ตำบลดงเย็น อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 3. นำเสนอแนวทางการจัดการท่องเที่ยววิถีชุมชนไทญ้อ ตำบลดงเย็น อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 50 คน ผู้วิจัยใช้วิธีเก็บข้อมูลภาคสนาม เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ&nbsp; แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ และแบบสนทนากลุ่ม โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลตามความมุ่งหมายของการวิจัย และนำเสนอผลการวิจัยโดยใช้วิธีการพรรณนาวิเคราะห์</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) ในอดีตภาครัฐได้จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเพื่อพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยดำเนินการจัดทำแผนอนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และศิลปวัฒนธรรม เพื่อเป็นประตูเชื่อมโยงกลุ่มประเทศอินโดจีน โดยมีหนองคาย มุกดาหาร นครพนม เป็นประตูการค้าชายแดนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือกำหนดแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดน และเมืองชายแดน พัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง เพิ่มขีด ความสามารถของบุคลากรด้านการท่องเที่ยวเพื่อสนับสนุนการพัฒนาการค้าการลงทุน และการท่องเที่ยว ส่วนการส่งเสริมการท่องเที่ยวกลุ่มไทญ้อในตำบลดงเย็น อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหารในปัจจุบันนั้นทางสำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดมุกดาหารได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวและจัดการพัฒนาในทุกพื้นที่ ในทุกชนเผ่า โดยสนับสนุนงาน<a href="https://www.zipeventapp.com/blog/2018/03/29/event-april-1-15/">เทศกาล</a>ต่าง ๆ และเปิดโอกาสให้คนในชุมชนได้เข้ามามี ส่วนร่วมส่งเสริมการท่องเที่ยวในกลุ่มไทญ้อของตน 2) ปัจจุบันการจัดการท่องเที่ยววิถีชุมชนไทญ้อในตำบลดงเย็นนั้นทางเทศบาลตำบลดงเย็นมุ่งเน้นการรื้อฟื้น อนุรักษ์ ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม ประเพณีของกลุ่มไทญ้อ ใช้งานคูณลานสู่ขวัญข้าวชาวเผ่าย้อ – ภูไท ลาวอีสาน เป็นสื่อกลางด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีของตน สำหรับสภาพปัญหาในปัจจุบันที่พบนั้นเกิดจากการได้รับงบประมาณสนับสนุนการจัดการท่องเที่ยวที่ไม่เพียงพอ การเดินทางท่องเที่ยวภายในตำบลดงเย็นไม่ค่อยสะดวก ไม่มีป้ายบอกทางที่ชัดเจนขาดการโฆษณาประชาสัมพันธ์งานเทศกาล ประเพณี และสถานที่ท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง &nbsp;3) เทศบาลตำบลดงเย็นควรเร่งจัดการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นให้เกิดผลสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม&nbsp; สำหรับแนวทางการจัดการท่องเที่ยววิถีชุมชนไทญ้อเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์นั้น ในพื้นที่วิจัยมีต้นทุน ด้านทรัพยากรธรรมชาติ มีศิลปวัฒนธรรม ประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ สามารถนำมาใช้จัดการท่องเที่ยววิถีชุมชนไทญ้อ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ได้ใน 3 รูปแบบ คือ รูปแบบการท่องเที่ยวตามแหล่งธรรมชาติ รูปแบบการท่องเที่ยวตามแหล่งวัฒนธรรม และรูปแบบการท่องเที่ยวตามความสนใจพิเศษ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research was a qualitative research. The study aimed: 1) to study the history of promotion tourism in the Tai Nyaw community, Dong Yen Sub-district, Mueang District, Mukdahan province, 2) to study the current state and problems of the community-based tourism management of Tai Nyaw in Dong Yen Sub-district, Mueang District, Mukdahan province, 3) to propose the guidelines for the community-based tourism management of &nbsp;&nbsp;Tai Nyaw in Dong Yen Sub-district, Mueang District, Mukdahan province for the development of creative economy by selecting 50 samples using a purposive sampling. The researcher collected data in the fieldwork. The research instruments used in the study included an observation form, a non-participant, an interview and a group discussion in accordance with the principle of community participation. The data was analyzed according to the purpose of the research and presented the research findings using the descriptive analysis method.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research found that: 1) In the past, the government sector had created&nbsp; a National Economic and Social Development plan for the development and promotion of tourism in the Northeast by conducting a conservation plan and restoring natural resources for tourism, history and arts and culture to become the gateway and connect the Indochina countries including Nong Khai, Mukdahan, and Nakhon Phanom as the border trade gateway of the Northeast. The government had established a border economic zone development plan, border cities, and transportation system development in order to increase&nbsp; &nbsp;the capabilities of tourism personnel. This was to support the development of trading, investment and tourism. The tourism promotion of the Tai Nyaw group in Dong Yen&nbsp; &nbsp;Sub-district, Mueang District, Mukdahan province, at present the Tourism and Sports Office in Mukdahan province had promoted tourism and managed the development in all areas for every tribe by supporting various festivals and giving opportunities for people in&nbsp; the community to participate in promoting tourism in their own groups. 2) At present, the community-based tourism management of Tai Nyaw in Dong Yen Sub-district was Dong Yen Sub-district Municipality office focused on reviving, conserving and restoring&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;the arts and culture and tradition of the Tai Nyaw cluster by setting Boon Koon Lan traditional rite of Nyaw-Phu Tai Lao-Isan as a medium festival to inherite their culture and traditions. The current state and problems found that the cause of insufficient budget to support tourism management, inconvenient of traveling within Dong Yen Sub-district, unclear signs, lack of advertising, public relations of festivals, traditions and tourist attractions going on continuously. 3) Dong Yen Sub-district Municipality office must take action their management urgently to solve the problems occurred that would result in a concrete success. According to the guidelines for the community-based tourism management of Tai Nyaw for the development of creative economy, in the research areas consisted of&nbsp; the capital of natural resources, culture, and unique traditions. Those resources could be used for the community-based tourism management of Tai Nyaw in order to develop creative economy in 3 different aspects: 1) tourism based on natural resources, 2) tourism in the cultural sites, and 3) tourism based on special interests.</p> 2020-01-08T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/207242 ผลของโปรแกรมการออกกำลังกายรำแม่สะเอิงประยุกต์ที่มีต่อการทรงตัวในผู้สูงวัย (The effects of Applied Rum Mae Sa Aung exercise program on balance in the elderly) 2020-01-09T08:48:00+07:00 เตชภณ ทองเติม (Tachapon Tongterm) jojoe_spsc_chula@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมการออกกำลังกายรำแม่สะเอิงประยุกต์สำหรับป้องกันการล้มในผู้สูงวัย ตัวอย่างเป็นผู้สูงวัยเพศหญิง จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมการออกกำลังกายรำแม่สะเอิงประยุกต์ 2) แบบทดสอบการทรงตัว จำนวน 4 รายการประกอบด้วย Berg Balance Scale (BBS)&nbsp; Functional Reach Test (FRT) 8-Foot Up and Go Test (8FUGT) และ Timed Up and Go Test (TUG) 3) แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ และวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมการออกกำลังกายรำแม่สะเอิงประยุกต์สำหรับป้องกันการล้มในผู้สูงวัยที่พัฒนาขึ้น เป็นโปรแกรมออกกำลังกายที่มีระดับความหนัก ระดับเบา ใช้เวลา 3 วัน/สัปดาห์ ครั้งละ 30 นาที แบ่งเป็น 3 ช่วง ได้แก่ ช่วงอบอุ่นร่างกาย 5 นาที มี 6 ท่า ช่วงออกกำลังกาย 20 นาที มี 8 ท่า และช่วงคลายอุ่น 5 นาที มี 6 ท่า หลังการทดลอง 8 และ 12 สัปดาห์ กลุ่มทดลองมีคะแนนการประเมินด้านการ ทรงตัวดีกว่าก่อนทดลองและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในรายการทดสอบ FRT, TUG และ 8FUGT โดยกลุ่มทดลองมีความพอใจต่อโปรแกรมการออกกำลังกาย อยู่ในระดับมากที่สุด</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This quasi experimental research aimed to develop an applied Rum Mae Sa Aung exercise program for fall prevention among elderly. The subjects were 60 female elderly and equally divided into an experimental group (n=30) and a control group (n=30). The research instruments consisted of 1) an applied Rum Mae Sa Aung exercise program 2) the 4 physical fitness tests regarding balance which were Berg Balance Scale (BBS), Functional Reach Test (FRT), 8-Foot Up and Go Test (8FUGT) and Timed Up and Go Test (TUG) and 3) the satisfaction interview form. Data were analyzed by using mean, standard deviation, ANOVA with repeated and analysis of Covariance (ANCOVA). The followings were the research results: 1) an applied Rum Mae Sa Aung exercise program was light exercise intensity program. The duration of the program was 3 days per week and 30 minutes per day which divided into 3 parts; 5 minutes for warm up time with 6 steps, 20 minutes for exercise time with 8 steps and 5 minutes for cool down time with 6 steps. 2) after 8 and 12 weeks of an applied Rum Mae Sa Aung exercise program the experiment group had a significantly developed mean score of balance compared the control group and pretest (p&lt;0.05) on Functional Reach Test (FRT), Timed Up and Go Test (TUG) and&nbsp; 8-Foot Up and Go Test (8FUGT). And 3) the result of satisfaction assessment of experimental group was very good level</p> 2020-01-09T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/190746 ความเข้มแข็งของภาษาประจำชาติ: การเลือกภาษาในประเทศอินโดนีเชีย (The strength of the national language: Language Choice in Indonesia) 2020-01-09T09:49:11+07:00 ชุติชล เอมดิษฐ (Chutichol Aemdit) chutichol@gmail.com อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (Amara Prasithrathsint) trfresearchprasithrathsint@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีความแตกต่างทางภาษาและชาติพันธุ์เป็นอย่างมาก เป็นที่ทราบกันดีว่าประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ประเทศหนึ่งของโลก เนื่องจาก ภูมิประเทศประกอบไปด้วยหมู่เกาะประมาณ 17,000 เกาะ แต่ละเกาะมีกลุ่มชาติพันธุ์ที่แตกต่างกันทุกกลุ่มชาติพันธุ์ล้วนมีภาษาและวัฒนธรรมเป็นของตัวเอง ทำให้ประเทศอินโดนีเซียมีภาษาถิ่นมากกว่า1,000 ภาษา ประเทศอินโดนีเซียยังเคยเป็นเมืองขึ้นของประเทศเนเธอร์แลนด์ยาวนานกว่า 300 ปี ด้วยเหตุนี้ สมมติฐานการวิจัยคือ ประเทศอินโดนีเซียมีสถานการณ์การใช้ภาษาที่หลากหลายและแตกต่างกันตามแวดวง อย่างไรก็ตาม ผลการวิจัยสถานการณ์ภาษาในประเทศอินโดนีเซียกลับพบว่า ภาษาอินโดนีเซียเพียงภาษาเดียวเท่านั้นที่มีความโดดเด่น</p> <p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</strong>จากการศึกษาการเลือกภาษาในแวดวงกฎหมาย สื่อ การศึกษา วรรณกรรม และการเมืองของประเทศอินโดนีเซียพบว่า ภาษาอินโดนีเซียมีบทบาทสำคัญที่สุดในทุกแวดวง ยกตัวอย่างเช่น แวดวงกฎหมายเลือกใช้ภาษาอินโดนีเซียในการร่างกฎหมายรัฐธรรมนูญ แวดวงสื่อเห็นได้ชัดว่าภายหลังปี 1949 หนังสือพิมพ์เลือกใช้ภาษาอินโดนีเซียแทนภาษาถิ่น สำหรับแวดวงการศึกษาและวรรณกรรมก็พบว่า เลือกใช้ภาษาอินโดนีเซียเป็นหลัก ทั้งนี้ เป็นเพราะนโยบายภาษาแห่งชาติเป็นส่วนสำคัญในการสร้างชาติ สร้างอัตลักษณ์กับคนในประเทศ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Indonesia is a country with rich linguistic and ethnic diversity. Indonesia is one of the world’s most renown countries in terms of ethnic diversity due to its approximately 17,000 islands, each with inhabitants of different ethnic groups with distinct language and culture, giving Indonesia over 1,000 local languages. Indonesia had also been a Dutch colony for over 300 years. Thus, this research hypothesized that Indonesia would have different language use situations that vary with different domains. However, research into the language situations of Indonesia reveal that Bahasa Indonesia is the only language that stands out.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The study of language choice in the domains of law, media, education, literature, and politics in Indonesia found that Bahasa Indonesia plays the greatest role in all domains. For example, in the domain of law, Bahasa Indonesia is the language of choice in the drafting of constitution. In the domain of media, it became evident that after 1949 newspapers chose to print in Bahasa Indonesia rather than in local languages. In education and literature, a large number of books, Bahasa Indonesia were found. This is due to the government policy of using national language as a key factor for nation-building and national identity creation.</p> 2020-01-09T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/200871 ผลกระทบของการรับรู้ประโยชน์ใช้สอยทางสิ่งแวดล้อมและความโปร่งใสของนโยบายที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต่อการรับรู้คุณค่า การเชื่อมโยงตราสินค้า และความภักดีต่อตราสินค้าผู้ประกอบการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (The Impact of Perceived Environmental Utility and Transparency of Environmental Friendly Policy on Perceived Value, Self-Brand Connection and Brand Loyalty with Eco-Friendly Entrepreneur) 2020-01-09T09:56:16+07:00 ธาดาธิเบศร์ ภูทอง (Thadathibesra Phuthong) thadathibesra@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลกระทบของการรับรู้ประโยชน์ใช้สอยทางสิ่งแวดล้อมและความโปร่งใสของนโยบายที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต่อการรับรู้คุณค่า การเชื่อมโยงตราสินค้า และความภักดีต่อตราสินค้าผู้ประกอบการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม และตรวจสอบความเชื่อมั่นโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคอัลฟ่า แบบสอบถามได้กระจายแก่กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการซื้อสินค้าหรือบริการจากผู้ประกอบการที่เน้นนโยบายความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์ จำนวน 138 คน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างกำหนดโดยใช้โปรแกรม G * Power (Version 3) เป็นเครื่องมือในการคำนวณ ด้วยระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติต่าง ๆ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์สมการถดถอย อย่างง่าย และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า ความโปร่งใสของนโยบายที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่ส่งผลเชิงบวกต่อการรับรู้คุณค่าตราสินค้าสีเขียว รองลงมาคือ การรับรู้ประโยชน์ใช้สอยทางสิ่งแวดล้อม ตามลำดับ และการรับรู้คุณค่าตราสินค้าสีเขียวยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลเชิงบวกต่อการเชื่อมโยงตราสินค้าเข้ากับผู้บริโภค นอกจากนี้ การเชื่อมโยงตราสินค้าเข้ากับผู้บริโภคยังเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่ส่งผลเชิงบวกต่อความภักดีต่อตราสินค้าผู้ประกอบการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รองลงมา คือ การรับรู้คุณค่าตราสินค้าสีเขียว ตามลำดับ ตัวแบบของผลการวิจัยสามารถอธิบายผลของการรับรู้คุณค่าตราสินค้าสีเขียว ได้ร้อยละ 65.10 (R<sup>2</sup> = 0.651) การเชื่อมโยงตราสินค้าเข้ากับผู้บริโภค ได้ร้อยละ 61.10 (R<sup>2</sup> = 0.611) และความภักดีต่อตราสินค้าผู้ประกอบการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ได้ร้อยละ 66.80 (R<sup>2</sup> = 0.668) จากผลการวิจัยเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการที่เน้นความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์ ในการเพิ่มระดับความภักดีต่อตราสินค้าของผู้บริโภค โดยผ่านการเชื่อมโยงตราสินค้าเข้ากับผู้บริโภคที่เกิดจากการรับรู้คุณค่าตราสินค้าสีเขียวด้านความโปร่งใสของนโยบายที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการรับรู้ประโยชน์ใช้สอยทางสิ่งแวดล้อม ตามลำดับ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The main purposes of this study are to investigate the impact of perceived environmental utility and transparency of environmental friendly policy on perceived value, self-brand connection and brand loyalty with eco-friendly entrepreneur. The research instrument was a questionnaire and testing the reliability using coefficient alpha. The questionnaire was distributed to 138 samples that have experience in purchase goods or services from eco-friendly entrepreneur. The sample size was determined by using the G * Power program (Version 3) with a confidence level at 95 percent using simple random sampling. The data were analyzed through statistic methods such as descriptive statistics and test the hypothesis by using the simple regression analysis and multiple regression analysis.</p> <p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;</strong>The results showed that transparency of environmental friendly policy was the most influential factor affecting positive impact on green perceived value, followed by perceived environmental utility, respectively. And green perceived value had positive impact on consumers' self-brand connection. Moreover, consumers' self-brand connection was the most influential factor affecting positive impact on brand loyalty with eco-friendly entrepreneur, followed by green perceived value, respectively. Results of the research model could explain the green perceived value at 65.10 (R<sup>2</sup> = 0.651), the consumers' self-brand connection at 61.10 (R<sup>2</sup> = 0.611) and the consumers’ brand loyalty with eco-friendly entrepreneur at 66.80 percent (R<sup>2</sup>=0.668). The results of this research were beneficial to eco-friendly entrepreneur to increase consumers’ brand loyalty through the consumers' self-brand connection by green perceived value in transparency of environmental friendly policy and perceived environmental utility, respectively.</p> 2020-01-09T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/208658 รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของผู้บริโภคและความตั้งใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ (A Causal Relationship Model of Factors Affecting Consumer Attitudes and Purchasing Intentions of Cross-Border E-Commerce Online Shopping) 2020-01-09T10:01:05+07:00 ธาดาธิเบศร์ ภูทอง (Thadathibesra Phuthong) thadathibesra@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของผู้บริโภคและความตั้งใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศและรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของผู้บริโภคและความตั้งใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่มีประสบการณ์ในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศจำนวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้างด้วยเทคนิควิธี Partial Least Square</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุน้อยกว่า 20 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี มีประสบการณ์ในการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์จากผู้ขายของต่างประเทศ และนิยมใช้บริการแพลตฟอร์มของ Lazada ในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ และยังพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของผู้บริโภคต่อการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศมากที่สุด คือ ความไว้วางใจ และปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศมากที่สุด คือ ทัศนคติของผู้บริโภคต่อการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ โดยความไว้วางใจมีอิทธิพลทางตรงต่อทัศนคติของผู้บริโภคต่อการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศในขณะที่ทัศนคติของผู้บริโภคต่อการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ และระบบกฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภค มีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ และยังพบว่าระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ระบบกฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภค ระบบการขนส่งสินค้า นโยบายเกี่ยวกับสินค้าและการจัดจำหน่ายไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อทัศนคติของผู้บริโภคต่อการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ และยังไม่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการขนส่งสินค้า นโยบายเกี่ยวกับสินค้าและการจัดจำหน่าย และความไว้วางใจยังไม่มีอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ โมเดลสมการโครงสร้างสามารถอธิบายผลของความตั้งใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ ได้ร้อยละ (R<sup>2</sup>=38.70, R<sup>2</sup>adj=37.00) จากผลการวิจัยเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการที่ขายสินค้าออนไลน์ผ่านทางเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ ในการเพิ่มระดับความตั้งใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ โดยผ่านทัศนคติของผู้บริโภคต่อการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศที่เกิดจากความไว้วางใจ</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research aims to study the factors that influence consumer attitudes and purchasing intentions of cross-border online shopping in Thailand and a causal model of consumer attitudes and purchasing intentions of cross-border online shopping in Thailand. The samples are 210 cross-border e-commerce online shopping website users. The research instrument was a questionnaire. The Structural equation model analysis by Partial Least Squares technique.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results found that most of the respondents are female, less than 20 years old. The education is bachelor degree. Have experience in ordering products online from foreign sellers. And using Lazada platforms for cross-border e-commerce online shopping. And found that the most influential factor affecting consumer attitude towards cross-border online shopping is trust and the most influential factor affecting purchasing intentions of cross-border online shopping are consumer attitude towards cross-border online shopping. Which the trust directly affected consumer attitude towards cross-border online shopping and indirectly influenced purchasing intentions of cross-border online shopping. Whereas, the consumer attitude towards cross-border online shopping and law protection directly affected purchasing intentions of cross-border online shopping. And found that the e-payment system, law protection, logistics system and product and sale policy did not directly affect the consumer attitude towards cross-border online shopping. In addition, the e-payment system, logistics system, product and sale policy and trust did not directly and indirectly affect the purchasing intentions of cross-border online shopping. The structural equation model can explain purchasing intentions of cross-border online shopping at 38.70 percent (R<sup>2 </sup>= 38.70, R<sup>2</sup>adj = 37.00). The results of this research are beneficial to online business entrepreneur through e-commerce website to increase the purchasing intentions of cross-border online shopping through the consumer attitude by trust.</p> 2020-01-09T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/221230 การศึกษาวิธีการวาดตัวละครและการสร้างภาพต่อเนื่องในการ์ตูนภูตผีปีศาจของ ศุภมิตร จันทร์แจ่มจากเค้าโครงเรื่องของเหม เวชกร (A Study on Character Drawing and Sequential Time Frame in Supamit Chantjam (Pui Devil)’s Comic on Ham Vejakorn’s Novel) 2020-01-09T10:06:13+07:00 นภัส กังวานนรากุล (Napat Kangwannarakul) i.d.rell_9noly@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;บทความนี้มุ่งศึกษาวิธีการวาดสร้างภาพตัวละครการ์ตูนผี และ วิธีสร้างภาพต่อเนื่องลำดับเหตุการณ์การอ่านการ์ตูนของศุภมิตร จันทร์แจ่ม ตามเนื้อเรื่องสยองขวัญของเหม เวชกร ด้วยวิธีการศึกษาระดับความเหมือนจริงในการวาดแนวคอมิคส์ และ การสร้างภาพต่อเนื่องตามแนวทางของสกอตต์ แม็คคลาวด์ ผลการศึกษาพบว่า การสร้างภาพการ์ตูนนี้ เป็นการนำเนื้อหาวรรณกรรมมาดัดแปลงเป็นภาพวาดคอมิคส์ การเลือกเรื่องราว สร้างสไตล์ภาพวาดที่ถูกลดทอนความน่ากลัวในระดับหนึ่ง ด้วยวิธีการลดรายละเอียดความเหมือนจริงในตัวละครการ์ตูน จนไปถึงนำหลักการสร้างจุดเชื่อมโยงช่องภาพต่าง ๆ ศึกษาวิธีการสร้างภาพการ์ตูน ด้วยแนวความคิด และ วิธีการของสกอตต์ แม็คคลาวด์ ด้วยหลักการนี้แสดงให้เห็นว่า การ์ตูนของศุภมิตร จันทร์แจ่ม เป็นการสร้างอัตลักษณ์เฉพาะที่ใช้วิธีการลดความเหมือนจริง จนไปถึงการเปลี่ยนกิริยาท่าทางตรงข้ามของตัวละครที่ทำให้ดูตลกขบขัน สร้างความสนุกสนาน และ ความน่ารัก การสร้างจุดเชื่อมโยงภาพที่ทำให้เรื่องราวไหลลื่นสบายตา กลายเป็นองค์ความรู้ของการวาดการ์ตูนแนวคอมิคส์(Comics)ที่เกิดขึ้นในศิลปะร่วมสมัยของไทย และการสร้างสรรค์คู่ตรงข้ามในภาพลักษณ์</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This article aims to investigate ghost character drawing and sequential time frame ordering in Supamit Chanjam’s comics from Hem Vejakorn’s horror novel. By adopting Scott McCloud’s concept, the realistic level of drawn pictures and sequential time frame are explored. Although the comics are adapted from the horror novel’s story, the horrors in the selected part of the story, and also in visual style, are both reduced by dropping some realistic details in the drawn characters. This article also studies elements of visual communication in the comics. The study explains that Supamit Chanjam constructs his own comic identity by reducing some realistic elements and changing some characters’ gestures. The gestures are changed to be incompatible and funny. This technique makes amusement and loveliness in the comics. Furthermore, the frames are linked to help the reader to read the comics easily. These mediums become knowledges of comic drawing techniques in contemporary Thai visual arts, and also become creations of binary opposition in images.</p> 2020-01-09T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/204357 การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับหุ่นยนต์ mBot วิชาวิทยาการคำนวณ เพื่อส่งเสริมการใช้ความคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (The Development Of Learning Activity Package With Mbot Robot In Computing Science Subject To Enhance Logical Thinking And Systematic Problem Solving For Pratomsuksa 3 Students) 2020-01-09T14:51:07+07:00 พัชราภรณ์ จารุพันธ์ (Phatcharaphronj Jaruphan) phatcharaphronj60@email.nu.ac.th กิตติพงษ์ พุ่มพวง (Kittipong Phumpuang) kittipong@sut.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายของการศึกษาเพื่อ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับหุ่นยนต์ mBot วิชาวิทยาการคำนวณ เพื่อส่งเสริมการใช้ความคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ 2) เพื่อศึกษาผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับหุ่นยนต์ mBot 3) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ความคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอนุบาลโรจนวิทย์ ปีการศึกษา 2562 จำนวน 34 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับหุ่นยนต์ mBot วิชาวิทยาการคำนวณ เพื่อส่งเสริมการใช้ความคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ แบบประเมินคุณภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ และแบบสังเกตพฤติกรรมการใช้ความคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ร้อยละ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 และค่า T-test Dependent</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจับพบว่า 1) ผลการสร้างและหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับหุ่นยนต์ mBot ในภาพรวมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp;= 4.53) ชุดกิจกรรมมีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 83.25/82.50 2) ผลการทดลองใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับหุ่นยนต์ mBot พบว่า ผลการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3) พฤติกรรมการการใช้ความคิดเชิงตรรกะ และการแก้ปัญหาเชิงระบบมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ( &nbsp;<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp;=15.15) คิดเป็นร้อยละ 75.76</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This research aimed to 1) develop and find the Efficiency of the learning activity package with mBot robot in Computational science subject to enhance logical thinking skill and problem-solving, 2) examine the results from using learning activity package, and 3) observe the behavior of using logical thinking and problem-solving System. The samples of this research were selected 34 Prathomsuksa 3 students in the first semester of the academic year 2019 at Rojanawit School Phitsanulok choose by cluster random sampling. The research instruments were 1) learning activity package with mBot Robot. 2) the quality assessment form of learning activity package 3) Learning assessment Test and behavior observation in, logical thinking and problem-solving. The statistics used in the research are E1/E2 (Efficiency), mean (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">), standard deviation (S.D.), T-Test dependent and percentage.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results showed that 1) The Learning activity package with mBot robot had effective E1/E2, at the criterion of 83.25/82.50, At the highest level ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp;= 4.53) 2) The Results of the learning activity package with mBot robot found that post-test scores were higher than per-test scores at the statistic significant level of .05 3) The behavior of using logical thinking and solving-problems an average score is medium ( <img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp;= 15.15) at 75.76 percentage.</p> 2020-01-09T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/201414 การศึกษาและทดลองเทคนิคสต็อปโมชั่นภาพเขียน (Research and Experiment in Paint-stopmotion Technique) 2020-01-10T16:44:57+07:00 ปภัทรนันท์ คุณพูนทรัพย์ (Papattaranan Kunphunsup) papattaranan.k@gmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;สื่อ คือส่วนขยายของมนุษย์ และตัวสื่อนั้นเองก็คือสารชนิดหนึ่ง เนื่องจากสื่อมีผลต่อการควบคุมและปรุงแต่งรูปแบบพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของของมนุษย์ (McLuhan, 1964) โดยกำหนดขอบเขตความคิดของมนุษย์ผู้ใช้สื่อนั้น&nbsp; เช่น มนุษย์ไม่สามารถใช้สัญญาณควันไฟเป็นสื่อถกเถียงข้อคิดทางปรัชญาได้ เนื่องจากรูปแบบของสื่อไม่ซับซ้อนพอ (Postman, 1985/2005) ดังนี้ การเลือกใช้สื่อที่เหมาะกับเนื้อหาจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพราะความสอดคล้องกันจะช่วยให้สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและทรงพลังยิ่งขึ้น</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; งานวิจัยชิ้นนี้จึงสนใจศึกษาและทดลองผลิตสื่อด้วยเทคนิคสต็อปโมชั่นภาพเขียน ซึ่งเป็นสื่อที่มีความน่าสนใจ สามารถสร้างงานด้วยงบประมาณจำกัด โดยยังเอื้อให้ใช้เทคนิคทางจิตรกรรมเพื่อสร้างภาพเคลื่อนไหวซึ่งมีความงามจากพื้นผิวที่เห็นร่องรอยการเขียน ทำให้รู้สึกถึงการเคลื่อนไหวและความมีชีวิตชีวาที่มีรูปแบบเฉพาะตัว และในปัจจุบันยังไม่พบการศึกษาเกี่ยวกับสื่อชนิดนี้อย่างเป็นทางการ ซึ่งหากสามารถสรุปได้ว่าลักษณะเฉพาะของสื่อนี้ เหมาะสำหรับใช้นำเสนอเนื้อหาแบบใด มีข้อจำกัดและขั้นตอนในการทำงานอย่างไร &nbsp;ต้องใช้เวลาและงบประมาณเท่าใดจึงจะสามารถสร้างผลงานขึ้นได้ ก็จะเกิดองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจนำเทคนิคสต็อปโมชั่นภาพเขียนไปใช้เพื่อสร้างผลงานต่อได้ นอกจากนี้แล้ว การตีแผ่ปรากฏการณ์สร้างสรรค์ที่เกิดขึ้น ย่อมเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการทำความเข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ งานวิจัยนี้ยังอาจเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจระเบียบวิธีวิจัยสร้างสรรค์อีกด้วย</p> 2020-01-10T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/201873 การศึกษารูปประโยค だろうDaroo ในภาษาญี่ปุ่นกับสำนวนแปลในภาษาไทย กรณีศึกษาจากงานวรรณกรรม และบทสนทนาในละครโทรทัศน์ (A Study of “Daroo” in Japanese and Thai translation The Case Study of the Japanese Novels and Television Drama Scenario) 2020-01-10T16:51:15+07:00 ปรัชญาภรณ์ รัตนพงศ์ภิญโญ (Pratyaporn Rattanapongpinyo) p.ratanapong@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) รูปประโยคแสดงความคาดคะเน หรือ だろうdaroo ในภาษาญี่ปุ่นว่าถูกแปลด้วยรูปทัศนภาวะสัญชานใดในภาษาไทย 2) ข้อแตกต่างในการใช้แต่ละรูปทัศนภาวะสัญชาน และ 3) หน้าที่ของ だろうdaroo &nbsp;โดยใช้วิธีปรากฏการวิทยา แนวการตีความ มีวิธีดำเนินการวิจัย ดังนี้ 1) กำหนดกลุ่มตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง โดยเลือกวรรณกรรมและบทละครโทรทัศน์ญี่ปุ่นที่มีการแปลเป็นภาษาไทย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009 2) รวบรวมรูปประโยค だろうdaroo 3) ศึกษาความต่างของทัศนภาวะสัญชานที่ถูกแปลออกมามากที่สุด 3 ลำดับ โดยวิเคราะห์จากการใช้ในบทบรรยายความคิดของตัวละครหรือ บทสนทนา แสดงการคาดคะเนภายใต้สถานการณ์ที่ใช้ และใช้ร่วมกับคำวิเศษณ์ใด</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) だろうdaroo ถูกแปลด้วย “คง” “อาจ” และ “น่าจะ” มากที่สุด 2) だろうdaroo ที่แปลด้วย “คง” “น่าจะ” มักพบในบทบรรยายความคิดของตัวละคร ในกรณีที่ผู้พูดไม่ทราบถึงข้อเท็จจริง จึงคาดคะเนจากข้อมูลที่มี โดยใช้ต่างกันตามชนิดของข้อมูลที่นำมาคาดคะเน&nbsp; ส่วน だろうdaroo ที่แปลด้วย “อาจ” พบในบทสนทนาเท่านั้น ใช้ในกรณีที่ผู้พูดต้องการหลีกเลี่ยงการลงความเห็นชี้ชัดไม่มีการคาดคะเน และไม่สามารถใช้ร่วมกับคำวิเศษณ์ที่แสดงความมั่นใจได้ 3) หน้าที่ของ だろうdaroo&nbsp; ที่เห็นความแตกต่างเด่นชัด เมื่อเทียบกับภาษาไทย สรุปได้ว่า だろうdaroo ใช้ในการคาดคะเนเรื่องที่ผู้พูดไม่ทราบถึงข้อเท็จจริง และใช้ในการหลีกเลี่ยงการลงความเห็นในบทสนทนา</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aims to: 1) study “Daroo” in Japanese and Thai Epistemic Modal Expression. That how they are translated to any form in Thai; 2) study the different in Thai Epistemic Modal Expression translated; and 3) how they can show the function of “Daroo”. The research method is divided into 3 phases: 1) define sample groups from Japanese Novels and Television Drama Scenario that translated in Thai and producted from 2009; 2) compile the “Daroo” sentence; and 3) study the different in Thai Epistemic Modal Expression that translated from “Daroo”, by 4 points: 1) used in character's thoughts or conversation; 2) used situation; 3) the speaker has an assumption or not; and 4) adverbs</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results showed that: 1) “Daroo” is translated by Thai Epistemic Modal Expression “khon”, “aat”, “naaca” as the top 3. 2) “Daroo”, translated by “khon” and “naaca”, will be used in character's thoughts more than conversation. They will be used in the case of the speakers may not know about the fact, so they used assumption or presumption. “Daroo”, translated by “aat”, will be used in conversation only in the event that the speakers want to avoid their opinion (Expressions for Avoiding Decisiveness). And 3) the study revealed that “Daroo” will be used in the character's thoughts, when the speakers may not know about the fact, so they used assumption or presumption. And in the conversation, “Daroo” can use in the event that speakers want to avoid their opinion (Expressions for Avoiding Decisiveness).</p> 2020-01-10T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/176966 ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการคัดแยกขยะของคน 4 Generations (Factors Affecting Waste Separation Behavior of 4 Generations) 2020-01-10T16:56:39+07:00 ภัทรานิษฐ์ ศรีจันทราพันธุ์ (Patranit Srijuntrapun) nisa_lay@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระดับพฤติกรรมการคัดแยกขยะของคน4 Generations และค้นหาปัจจัยที่มีผลต่อระดับพฤติกรรมการคัดแยกขยะของคน 4Generations&nbsp; โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรที่อาศัยในเขตกรุงเทพฯ ประกอบด้วยกลุ่มคนใน 4 ช่วง ดังนี้ 1) กลุ่มเบบี้บูมเมอร์ (Baby Boomer) คือ กลุ่มคนที่เกิดในช่วง พ.ศ. 2489 – 2507; 2) เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ (Generation X) คือ กลุ่มคนที่เกิดในช่วง พ.ศ. 2508 – 2522; 3) เจเนอเรชั่นวาย (Generation Y) คือ กลุ่มคนที่เกิดในช่วง พ.ศ. 2523 – 2540 และ 4) เจเนอเรชั่นแซด (Generation Z) คือ กลุ่มคนที่เกิดในช่วง พ.ศ. 2541 - 2552&nbsp; การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามจำนวน 400 ชุด ในเขตพื้นที่กรุงเทพฯ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ&nbsp; การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยมากกว่า 2กลุ่ม(F-test)และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ(Multiple Linear Regression)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มคนทั้ง 4 Generations มีพฤติกรรมการคัดแยกขยะในระดับปานกลาง และหากพิจารณาในรายละเอียดพบว่า กลุ่มที่มีพฤติกรรมการคัดแยกขยะในระดับมากที่สุด คือ กลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ นอกจากนี้ ปัจจัยที่มีผลต่อระดับพฤติกรรมการคัดแยกขยะมีความแตกต่างกันในแต่ละช่วงวัย ดังนี้ (1) ตัวแปรแหล่งรับซื้อขยะรีไซเคิล แรงจูงใจภายในของการคัดแยกขยะ รายได้ต่อเดือน และระดับการศึกษา เป็นตัวแปรที่ใช้ทำนายพฤติกรรมเกี่ยวกับการกำจัดขยะและการคัดแยกขยะ ของกลุ่มเบบี้บูมเมอร์ ได้ร้อยละ 49.1 (2) ตัวแปรทัศนคติเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อการจัดการและคัดแยกขยะ และอัตราค่าธรรมเนียมขยะที่จ่ายต่อเดือน เป็นตัวแปรที่ใช้ทำนายพฤติกรรมการคัดแยกขยะของเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ ได้ร้อยละ 25.9 (3) ตัวแปรทัศนคติเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อการจัดการและคัดแยกขยะ คนที่คัดแยกขยะในครัวเรือน และรายได้ต่อเดือน เป็นตัวแปรที่ใช้ทำนายพฤติกรรมการคัดแยกขยะของเจเนอเรชั่นวาย ได้ร้อยละ 26.7 (4) ตัวแปรทัศนคติเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อการจัดการและคัดแยกขยะ แรงจูงใจภายในของการคัดแยกขยะ และระดับการศึกษาเป็น ตัวแปรที่ใช้ทำนายพฤติกรรมการคัดแยกขยะของเจเนอเรชั่นแซดได้ร้อยละ 31.9&nbsp; ซึ่งองค์ความรู้เหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่องานส่งเสริมการคัดแยกขยะเพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับช่วงอายุของกลุ่มคนที่เข้าร่วมกิจกรรมและนำไปสู่ความสำเร็จของการคัดแยกขยะอย่างแท้จริง</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This study aims to compare the varying degrees of waste separation behaviors among people in four generations, as well as to investigate the factors which influenced their waste separation behaviors. The population sample consisted of people living in Bangkok who were divided into 4 age groups: 1) Baby Boomer (born between 1946-1964); 2. Generation X (born between 1965-1979); 3. Generation Y (born between 1980-1997); and 4. Generation Z (born between 1998-2009). The data was collected from 400 questionnaires within Bangkok areas. Data were analyzed by using descriptive statistic, which includes frequency, percentage, mean, and standard deviation, and inferential statistic, which consists of analysis of variance and Multiple Linear Regression.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Results revealed moderate degrees of waste separation behaviors for all four generations. Further investigation also revealed that Generation X has the highest degree of waste separation behaviors of all the four age groups. In addition, there are different factors that influence the waste separation behaviors: (1) attitudinal variables concerning the responsibility and internal motivations for waste management and waste separation, and education levels, which predict waste separation behaviors of Generation Z with 31.9% accuracy; (2) attitudinal variables concerning the responsibility for waste management and waste separation, the person who handles waste separation in the household, and monthly income, which predict waste separation behaviors of Generation Y with 26.7% accuracy; (3) attitudinal variables concerning the responsibility for waste management and waste separation, and the monthly cost of waste disposal, which predict waste separation behaviors of Generation X with 25.9% accuracy; (4) variables concerning dealers in recyclable waste, internal motivations for waste separation, monthly income, and education levels, which predict waste management and waste separation behaviors of Baby Boomers with 49.1% accuracy. These will be very useful for the promotion of waste sorting in each age group leading to the success of waste separation.</p> 2020-01-10T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/189619 กลวิธีการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (English Learning Strategies of English-Majored Students at Yala Rajabhat University) 2020-01-10T17:05:21+07:00 วันทนี แสงคล้ายเจริญ (Wantanee Saengklaijaroen) wan_ta_nee@hotmail.com สมิทธ์ วงศ์วิวัฒน์ (Smith Vongvivut) wan_ta_nee@hotmail.com จิตสุดา ละอองผล (Jitsuda Laongpol) wan_ta_nee@hotmail.com วรเวทย์พิสิษ ยศศิริ (Varavejbhisis Yossiri) wan_ta_nee@hotmail.com มูฮำหมัดสุกรี หะยีสะนิ (Muhamadsukree Hayeesani) wan_ta_nee@hotmail.com นิชาภัทรชย์ รวิชาติ (Nichaphat Rawichart) wan_ta_nee@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยเรื่องนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบกลวิธีในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต และนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ และเพื่อศึกษาปัญหาในการเรียนภาษาอังกฤษ กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ กลุ่มเก่ง 3 คน กลุ่มปานกลาง 38 คน กลุ่มอ่อน 45 คน และนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษกลุ่มเก่ง 2 คน กลุ่มปานกลาง 33 คน เครื่องมือที่ใช้วิจัยคือ แบบสอบถามที่ดัดแปลงจาก Oxford’s Strategy Inventory for Language Learning Version 7.0 สถิติที่ใช้คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ T-test และ การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี Scheffe ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาทั้งสองหลักสูตรมีระดับการใช้กลวิธีในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับปานกลาง นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตใช้กลวิธีในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่เมื่อเปรียบเทียบเป็นรายด้าน พบว่ากลวิธีด้านความรู้คิดมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยพบว่านักศึกษากลุ่มเก่งมีการใช้กลวิธีด้านความรู้คิดมากกว่านักศึกษากลุ่มอ่อน สำหรับนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตกลุ่มเก่งและกลุ่มปานกลาง พบว่าไม่มีความแตกต่างในการใช้กลวิธีการเรียนภาษาอังกฤษอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตและนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตกลุ่มเก่งในภาพรวมมีการใช้กลวิธีในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตและหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตกลุ่มปานกลางในภาพรวมมีการใช้กลวิธีในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แต่เมื่อพิจารณารายด้านพบว่ากลวิธีด้านความรู้คิดและกลวิธีด้านการควบคุมและตรวจสอบไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และปัญหาในการเรียนภาษาอังกฤษที่นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตพบมากที่สุดคือปัญหาด้านการฟัง ขณะที่ปัญหาในการเรียนภาษาอังกฤษที่นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตพบมากที่สุดคือปัญหาด้านคำศัพท์</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The aims of this research were to study and compare English learning strategies and to study English learning problems. A sample consisted of two groups : 1) 3 high proficiency, 38 intermediate proficiency and 45 low proficiency English-majored students of Liberal Arts Program and 2) 2 high proficiency and 33 intermediate proficiency English-majored students of Education Program. The instruments used in this research were questionnaires adapted from Oxford’s Strategy Inventory for Language Learning Version 7.0. Statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test, One way ANOVA and&nbsp; Scheffe’s Method<strong>. </strong>The results of this research were as follows : Students’ English learning strategies of Liberal Arts program and Education program were at a moderate level. When comparing English learning strategies of high, intermediate and low proficiency students of Liberal Arts program, no significant difference was found at .05 for overall. However, when considering each aspect, cognitive strategy aspect of high and low proficiency students was statistically significant at .01. High proficiency students used more strategies than low proficiency students. For high and intermediate proficiency students of Education program, no significant difference was found at .05 for overall. The English learning strategies of high proficiency students of Liberal Arts program and Education program were not statistically significant at .05 for overall. For intermediate proficiency students of Liberal Arts program and Education program, their English learning strategies were statistically significant at .01 for overall.&nbsp; Nevertheless, when considering each aspect, cognitive strategy and metacognitive strategy were not statistically significant at .05. For the students of Liberal Arts program, the English learning problem found with the most frequency was listening whereas vocabulary is the problem which was found with the most frequency for Education students.</p> <p><strong>&nbsp;</strong></p> 2020-01-10T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/152907 การใช้แสงและสีทางจิตวิทยา เพื่อการออกแบบพัฒนาฉาก (The use of light and color psychology. To design, develop Scene) 2020-01-16T15:07:35+07:00 วันวิสาข์ พรมจีน (Wanwisa Promjeen) wanwisa.promjeen@gmail.com อติเทพ แจ้ดนาลาว (Atithep Chaetnalao) Chaetnalao@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;สีและแสงเป็นปัจจัยที่สำคัญในการสร้างสรรค์งานศิลปะในทุกแขนง การออกแบบฉากที่ดีต้องสามารถบอกผู้ชมได้ถึง สภาพแวดล้อม บุคลิก ลักษณะตัวละคร และผลกระทบที่มีต่อเหตุการณ์ การออกแบบพัฒนาฉากจึงจำเป็นที่จะต้องใช้โทนสีและแสงเป็นองค์ประกอบหลัก เพื่อให้สอดคล้องกับเรื่องราว โดยใช้รูปแบบการวิเคราะห์ร่วมในด้านอื่น ไม่ว่าจะเป็นสภาพสังคม ปรัชญาและความคิด นอกจากส่งผลให้งานสมบูรณ์ สวยงามตามหลักการทางศิลปะ และการสื่อเรื่องราวในแต่ละฉากแต่ละตอน ยังสามารถถ่ายทอดบริบท ที่ส่งผ่านไปยังผู้รับสารได้อย่างตรงตามจุดมุ่งหมาย</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การศึกษาเรื่องแสงและสีทางจิตวิทยาเพื่อการออกแบบพัฒนาฉาก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ แสง ความแตกต่างของโทนสี ในการออกแบบพัฒนาฉาก บรรยากาศ อารมณ์ความรู้สึกที่สอดคล้อง เพื่อให้ผู้ชมเข้าใจสถานการณ์ของเรื่องราวชัดเจน ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้เขียนบทความศึกษาผลงานจิตรกรรมของ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;Joseph Mallord William Turner จิตรกรแห่งแสงสี จำนวน 3 ภาพ และ อิทธิพลของสถาปัตยกรรมประเทศ Russia ที่มีต่องานแอนิเมชัน จาก Parovoz Animation Studio และภาพยนตร์ Stop Motion ผลงานของ Russian Studio Soyuzmultfilm ผู้วิจัยลงพื้นที่เพื่อสังเกตุการณ์แบบมีส่วนร่วมกับผู้ผลิตผลงาน วิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบพัฒนาฉาก โดยการหาความสอดคล้องและวิเคราะห์อิทธิพลจากสีที่มีต่อการออกแบบพัฒนาฉาก</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลจากการศึกษาพบว่า แสงและสีเป็นเครื่องมือทางจิตวิทยา ที่สามารถสะท้อนอารมณ์ได้หลากหลาย สร้างความแตกต่างระหว่างฉากที่สื่ออารมณ์ ให้เป็นฉากที่สื่ออารมณ์ได้ยอดเยี่ยม โดยการออกแบบฉากลักษณะนี้คือการสร้างภาพให้มีชีวิตดึงดูดอารมณ์ของผู้ชม โดยใช้แสงและสีในลักษณะต่าง ๆ ตามที่ผู้ผลิตอยากให้อารมณ์นั้นปรากฎในฉาก ก่อให้เกิดความตื่นตาตื่นใจ ซึ่งการใช้สีทางจิตวิทยาเพื่อการออกแบบพัฒนาฉากนั้น ต้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์ เพื่อให้เกิดงานสร้างสรรค์ จึงเห็นได้ว่าการใช้แสงและสีทางจิตวิทยาเพื่อการออกแบบพัฒนาฉากนั้น สามารถช่วยให้การออกแบบฉากสื่ออารมณ์ได้ชัดเจนและสร้างอารมณ์ร่วมของผู้ชมได้เป็นอย่างดี</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;Color is an important factor in the creation of art of all types. The set design will better be able to tell the audience the character's personality, environment and impact on events. Design development is the need to use color as a major component. To comply story The analysis model in other areas, whether it is social and philosophical ideas. The resulting work complete The beautiful art The media story in each situation. Also transmit Context A pass to the audience was exactly as intended.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The study of light and color psychology to design, develop scenes. The purpose is to learn about the elements of light of different colors in the design, development scene corresponds to the emotion that the audience understand the story better. Assist the story clear In this study, The authors studied the paintings of Joseph Mallord William Turner, Painter of Light, 3 images and animation works. Russian animation studio Parovoz Animation Studio 2 and movies Stop Motion works of Russian Studio Soyuzmultfilm 1 of the research into the area to collect the produce. The study analyzed data from the relevant knowledge. And Set Design Determination of compliance and analyzes the influence of color on the design scene.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The study finds Light and color psychology Can reflect a variety of moods Light and color can make the difference between a good mood at the scene. A scene where the mood was excellent. The set design aspect is to create a life of emotional appeal to the audience. The use of light and color in different ways, according to create a mood that would appear on the scene. To achieve credibility The use of color psychology to the design, development scene. Through process analysis To be creative It can be seen that the use of light and color psychology to the design, development scene. Can help design and create the mood was clearly emotional involvement of the audience as well.</p> 2020-01-15T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/208507 พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำคำ อำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว (Self-Care Behaviors of Hypertensive Patients In Ban Nam Kham Health Promoting Hospital, Khong Hat District, Sa Kaeo Province) 2020-01-15T15:44:24+07:00 ศศิธร ตันติเอกรัตน์ (Sasithon Tantiekkarat) apichai@vru.ac.th อภิชัย คุณีพงษ์ (Apichai Khuneepong) apichai@vru.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำคำ&nbsp; อำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ&nbsp; ตำบลบ้านน้ำคำ จำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง การเข้าถึงบริการสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคมและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้วิธีการสุ่ม กลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามหมู่บ้าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ ไคสแควร์ และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองโดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับดี (&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp; = 3.37,S.D.= 0.25) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน 3 ด้าน ได้แก่ พฤติกรรมการรับประทานอาหาร พฤติกรรมการออกกำลังกาย และพฤติกรรมการจัดการความเครียด พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับดี พฤติกรรมการบริโภคอาหาร(&nbsp;&nbsp;<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> &nbsp;= 3.43,S.D.= 0.29) พฤติกรรมการออกกำลังกาย (&nbsp;<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}"> &nbsp;= 3.32 ,S.D.= 0.41) และพฤติกรรมการจัดการความเครียด(&nbsp;&nbsp;<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">&nbsp; = 3.37 , S.D.= 0.38) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ปัจจัยนำ ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ปัจจัยเอื้อ ได้แก่ รายได้ของครอบครัว การเข้าถึงบริการสุขภาพ ปัจจัยเสริม ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่.05 (p&lt;.05)</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;This cross-sectional survey research aimed to study factors related to self-care behaviors among hypertensive patients in Ban Nam Kham Health Promoting Hospital, Khong hat District, Sa Kaeo Province. A sample of 120 persons were stratified random sampling selected from primary hypertensive patients. General information, knowledge about self-care behavior, access to health services, social support and self-care behavior questionnaires were used for collecting data. The statistics used in the analysis were percentage, mean, standard deviation, Chi-square test and Pearson's product moment correlation coefficient. The results showed that most of the samples were female. The overall self-care behaviors had a good level; (M = 3.37, S.D. = 0.25). In details, food behavior (M= 3.43, S.D. = 0.29) exercise behavior (M = 3.32, S.D. = 0.41) and stress management behavior (M = 3.37, S.D. = 0.38) were good level. Predisposing factors:&nbsp; age, education level, occupation enabling factors: family Income, health services access reinforcing factors: social support were significantly related to self-care behaviors. (p&lt;.05).</p> 2020-01-15T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/187243 สัตว์หิมพานต์ในจินตนาการ : อิทธิพลจากคติความเชื่อกับภาพลายเส้นของ สุรศักดิ์ เจริญวงศ์ (Himmapan Creatures from Imagination: Influences from beliefs and drawings of Surasak Charoenwong) 2020-01-15T15:50:47+07:00 สุดวดี สุวรรณ (Sudwadee Suwan) sudwaduang@gmail.com สุชาติ เถาทอง (Suchart Taothong) suchat@buu.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;บทความนี้มุ่งศึกษาวิเคราะห์ผลงานชิ้นสุดท้ายก่อนเสียชีวิตของศาสตราจารย์สุรศักดิ์ เจริญวงศ์ นั่นคือ ผลงานชุด “ภาพสัตว์หิมพานต์ในจินตนาการ” ท่านนำเสนอรูปแบบสัตว์หิมพานต์ที่มีเพิ่มมากยิ่งขึ้นด้วยการผสมสัตว์แต่ละประเภทที่ยังไม่เคยปรากฏมาก่อนในศิลปกรรมใด จากการศึกษาทบทวนศิลปกรรมที่เกี่ยวข้องโดยทั่วไปพบว่าภาพสัตว์หิมพานต์ที่ปรากฏส่วนใหญ่ยังเป็นการเขียนภาพสัตว์ซึ่งมีที่มาจากศิลปกรรมโบราณเป็นหลัก และยังไม่พบเชิงเปรียบเทียบทางสัญลักษณ์เพื่อสื่อแสดงความรู้สึกเฉพาะตนสะท้อนสัมพันธภาพแห่งครอบครัวในลักษณะเดียวกันกับที่พบในผลงานของศาสตราจารย์สุรศักดิ์ ดังนั้นในการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลจากรูปแบบของสัตว์หิมพานต์ในศิลปกรรมโบราณที่มีต่อการสร้างสรรค์ของศาสตราจารย์สุรศักดิ์ โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบประเภทสัตว์หิมพานต์จากสมุดไทยดำสมัยรัชกาลที่ 3 และจิตรกรรมในกรอบกระจกพระวิหารวัดสุทัศน์ กับ ผลงานชุดภาพสัตว์หิมพานต์ในจินตนาการของศาสตราจารย์สุรศักดิ์ เจริญวงศ์</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จากการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบภาพสัตว์หิมพานต์ในจินตนาการของศาสตราจารย์สุรศักดิ์ เจริญวงศ์ กับภาพสัตว์หิมพานต์ในสมุดไทยดำ และ สัตว์หิมพานต์ในกรอบกระจก พระวิหารหลวง วัดสุทัศนเทพวราราม ปรากฏความหลากหลายจากบริบทที่แตกต่างกันทั้ง 3&nbsp; ชุด กล่าวคือ</p> <p><strong><em>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;</em></strong>ชุดที่ 1 ตำราภาพสัตว์หิมพานต์จากสมุดไทยดำทั้ง 77 ประเภท ปรากฏบุษบกหลังเล็กๆตั้งอยู่บนหลังสัตว์ทุกตัว รวมถึงการจัดท่าทางของสัตว์ให้ยืนนิ่งในลักษณะเดียวกัน เพื่อให้เหมาะแก่การนำไปใช้ในการผูกหุ่นรูปสัตว์เข้ากระบวนแห่พระบรมศพในงานพระเมรุ แม้จะมีความวิจิตรงดงามแต่ยังขาดชีวิตชีวา</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ชุดที่ 2 คือภาพสัตว์หิมพานต์ในกรอบกระจกประดับเหนือขอบประตูหน้าต่างวิหารวัดสุทัศน์ จำนวน 48 ประเภท มีความงามอย่างอุดมคติแสดงลักษณะสัตว์นานาชนิดในจินตนาการ เป็นธรรมชาติมีชีวิตชีวาขึ้นจากชุดสัตว์ในสมุดไทยดำ แต่สัมพันธภาพระหว่างสัตว์ด้วยกันยังปรากฏไม่ชัดเจนนัก โดยสัตว์หิมพานต์ชุดนี้สร้างขึ้นเพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับจิตรกรรมฝาผนังภายในพระวิหารที่มีเนื้อหาซึ่งสะท้อนโลกทัศน์ และคติความเชื่อทางพุทธศาสนาในสมัยนั้นไว้อย่างชัดเจน</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ชุดที่ 3 คือ ภาพสัตว์หิมพานต์ในจินตนาการของศาสตราจารย์สุรศักดิ์ เจริญวงศ์ จำนวน 151 ประเภท แม้จะรับอิทธิพลจากรูปแบบของสัตว์หิมพานต์ใน 2 ชุดแรกมาอย่างเต็มเปี่ยม แต่กลับแสดงสุนทรียภาพแห่งความสัมพันธ์เชิงครอบครัวของสัตว์หิมพานต์ในลักษณะที่ไม่พบในศิลปกรรม 2 ชุดแรก&nbsp; ภาพครอบครัวของสัตว์พ่อแม่ลูกหยอกล้อแสดงความรักสะท้อนความอบอุ่นในฐานะของความเป็นพ่อในตัวท่าน แสดงความรู้สึกเฉพาะตนในมิติความสัมพันธ์แห่งครอบครัวลงไปตามจินตนาการของท่าน &nbsp;นำเสนอรูปแบบสัตว์หิมพานต์ที่มีการออกแบบผสมสัตว์แต่ละประเภทในรูปลักษณะใหม่ที่ยังไม่เคยปรากฏมาก่อน&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This article aims to study and analyze the last workpiece of Professor Surasak Charoenwong before his passed which is named “Himmapan Creatures from Imagination”. It is the collection book illustrating the various kind of Himmapan creature drawing, including new created characters which never existed before. Consideration to the related art studies, the Himmapan creatures typically seen mainly came from the ancient art with no artists’ expression. Unlike the work of Professor Suraksak, the expression of his feeling to family relation through symbolic and comparison found through his art.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Therefore, the objective of this essay is to study the influences of Himmapan creatures in the ancient art toward the creativity of Professor Surasak by analyzing, including comparing types of Himmapan creatures shown in “Thai Dum” book from the reign of King Rama III and the painting decorated in the Vihara of Wat Suthat compared with “Himmapan Creatures from Imaginations” by Professor Surasak Charoenwong. They are diversity in different contexts found in all the 3 above-mentioned resources as per below.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Set 1 - 77 kinds of Himmapan creatures in “Thai Dum” book. They are found to have small throne on all of their backs. They all were also drawn in the same standing posture used as ornament attached to royal funeral processions. They are elaborate, yet to be lifeless.&nbsp;&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Set 2 - The Himmapan creatures painting which decorated inside the Vihara, above doors and windows of Wat Suthat, in total of 48 kinds. They are ideally beautiful showing various kind of creatures from imagination. They look more alive comparing to the creatures from “Thai Dum” book, however, the relationship between creatures are not obviously shown. The paintings intended to relate with the mural painting in the Vihara which clearly present visions and beliefs in Bhuddism at that period.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Set 3 - The Himmapan creatures from imagination, totally 151 kinds, created by Professor Surasak Charoenwong. Even his creatures were influenced greatly from the above 2 sets, the aesthetic of family relationship was found which never seen in the above works. For example, the scene of creature family that parents are playing with their children reflecting his warm loving heart as a father. His work expressed his feeling toward the family relation including the imagination to create the new Himmapan creatures that never existed.</p> 2020-01-15T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/198840 การศึกษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาการเลี้ยงสุนัขสายพันธุ์บางแก้วในจังหวัดพิษณุโลก (A Study on Culture and Wisdom for Fostering Thai Bangkaew Dogs in Phitsanulok Province) 2020-01-15T15:56:33+07:00 ขวัญชนก นัยจรัญ (Khwanchanok Naijarun) nkhwanchanok@hotmail.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;บทความวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของผู้เลี้ยงสุนัขบางแก้ว และ 2) เพื่อศึกษาภูมิปัญญาและเรื่องเล่าเกี่ยวกับการเลี้ยงสุนัขสายพันธุ์บางแก้วในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ดำเนินการตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่&nbsp; แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 50 คน นำเสนอผลการวิจัยโดยใช้การพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1) วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของผู้เลี้ยงสุนัขบางแก้ว มีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพสังคมแสดงให้เห็นพลวัตทางวัฒนธรรมในการดูแลสัตว์เลี้ยงที่เปลี่ยนแปลงไปตามระบอบทุนนิยม ที่สัตว์เลี้ยงกลายเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวมนุษย์ มีธุรกิจการค้าเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงโดยเฉพาะสุนัข 2) ภูมิปัญญาและเรื่องเล่าเกี่ยวกับการเลี้ยงสุนัขสายพันธุ์บางแก้วในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ปรากฏการใช้ภูมิปัญญาไทยร่วมในการเลี้ยงสุนัข แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ การใช้ภูมิปัญญาไทยในการรักษาอาการเจ็บป่วยและการบำรุงร่างกาย&nbsp; และเรื่องเล่าของสุนัขสายพันธุ์บางแก้วเกี่ยวกับต้นกำเนิดสายพันธุ์ว่ามีต้นกำเนิดอยู่ที่อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก เป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้คนพิษณุโลกตัดสินใจเลี้ยงสุนัขบางแก้ว และจากมุขปาฐะเรื่องเล่าวีรกรรมสุนัขบางแก้วที่สร้างความประทับใจให้แก่ผู้เลี้ยงมีความสอดคล้องกับลักษณะนิสัยของสุนัข บางแก้วที่ได้รับการบันทึกผ่านเอกสารต่าง ๆว่า สุนัขบางแก้วมีความจำเป็นเลิศ รักเจ้าของ หวงของ และมีสัญชาติญาณ นักล่า</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purposes of the research were: 1) to study Thai Bangkaew dog owners’ ways of life and culture, and 2) to study wisdom of fostering and story tales of Thai Bangkaew dogs in the area of Phitsanulok province. According research methodology, this qualitative research. The instrument used in the research was a structured interview. The sample in this research were 50 person by using the purposive sampling. The results of the research were demonstrated by analytical description. The findings were as follows: 1) As for ways of life and culture, This finding demonstrated that cultural dynamics has been changing according to capitalism. Pets have become a part of human family. Also, there are pet businesses particularly for dogs.&nbsp; 2. In terms of the wisdom of fostering Thai Bangkaew dogs in Phitsanulok, at the present time, when they are ill, the dogs will be brought to see a veterinarian because of convenience and effective treatment. However, local Thai wisdom for fostering the dogs appeared and was classified into two types: the wisdom of treatment and the wisdom of nourishment. The legend of Thai Bangkaew dogs’ origin in Bangrakum district, Phitsanulok province is a crucial reason why people in Phitsanulok make decisions of fostering the dogs. Moreover, stories of Thai Bangkaew dogs’ bravery that are impressive to the dog fosters are in accordance with the dogs’ characteristics that were documentarily recorded, namely, exceptional memory, actual love for the owners, possessive aggression, and hunting instinct.&nbsp;</p> 2020-01-15T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/198286 Opinions of Selected Thai Nursing Students on Factors Contributing to their Academic and Clinical Stress 2020-01-15T16:13:51+07:00 Tassanee Krirkgulthorn samuel@bcns.ac.th Samuel Umereweneza Tassanee@bcns.ac.th Sansanee Seetangkham Tassanee@bcns.ac.th Kornkanok Boonprothum Tassanee@bcns.ac.th Bang-on phaonoi Tassanee@bcns.ac.th Phoomin Doungsuriya Tassanee@bcns.ac.th Payao Phongsakchat Tassanee@bcns.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; Academic and clinical stress in nursing students is a global issue. The purpose of this research was to investigate the factors that contribute to academic and clinical stress, to identify perceptions of levels of stress attributed to these factors, and to explore coping interventions that can reduce stress in nursing students at a institute of higher learning in Thailand. This is a mixed-method research study design including 415 nursing students across all years of their bachelors’ program. Quantitative data collection (n=415) was done using a survey questionnaire with analysis including descriptive and inferential statistics (i.e., ANOVA). Qualitative data collection (n=8) was conducted through a focus group discussion with content analyzed using conceptual descriptive analysis.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Results revealed that nursing students generally experience a moderate level of stress in both academic and clinical areas (an overall score of 1.40 , SD = 0.41). Higher mean scores were noted for academic stress, particularly in the physical dimension (M=1.70, SD=0.51). Comparison between different educational levels showed that freshmen experienced the highest level of academic stress, followed by sophomore, senior&nbsp; and junior nursing students [M=1.59 (SD=0.45); M=1.51 (SD=0.42); M=1.49 (SD=0.53); M=1.38 (SD=0.37)] respectively. Sophomore nursing students experienced the highest level of clinical stress, followed by senior nursing students, freshmen, and junior students [M=1.37 (SD=0.39); M=1.34 (SD=0.42); M=1.32 (SD=0.39), M=1.30 (SD=0.39)] respectively.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; There was a significant difference among the mean scores on academic stress for academic levels at p=.041. For subscale of academic stress, there is significant difference among the mean scores on physical, social, and spiritual for academic levels at p-level of .000, .022, and .002, respectively. There was no significant difference among the mean scores on clinical stress for academic levels (p=0.487). However, for subscale of clinical stress, there is significant difference among the mean scores on physical dimension for academic levels (p=0.003).</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Results from focus group discussion revealed that factors contributing to academic stress included studying multiple subjects at the same time, heavy course work assignments, examinations, age, lack of family support, classmates, and time management. Factors contributing to clinical stress included preceptors, group members, changing wards, lack of confidence, patients, assignments, case conferences, and competition. Nursing educators need to be aware of the factors that affect stress of nursing students across the program as well as across the years of the program in order to intervene appropriately.</p> 2020-01-15T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/165220 รูปแบบการพัฒนาศักยภาพในการพึ่งพาตนเองทางด้านเศรษฐกิจของแม่หญิงลาว ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) (The Model Of Development Of Potential Of Self- Economic Reliance Of Lao Women InLao People’s Democratic Republic) 2020-01-20T11:38:48+07:00 นิลประเสริฐ ชัยพรศรี (Ninpaseuth Xayaphonesy) ninpaseuthx@yahoo.com ภัทรธิรา ผลงาม (Patthira Phon-Ngam) ninpaseuthx@yahoo.com จุลดิษฐ อุปฮาต (Junladit Obpahat) ninpaseuthx@yahoo.com นัยนา อรรจนาทร (Naiyana Janatorn) ninpaseuthx@yahoo.com <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาสภาพและปัญหาการพึ่งพาตนเองทางด้านเศรษฐกิจของ แม่หญิง ลาวใน สปป.ลาว 2) สร้างรูปแบบการพัฒนาศักยภาพในการพึ่งพาตนเองทางด้านเศรษฐกิจของ แม่หญิงใน&nbsp; สปป.ลาว และ 3) ทดลองใช้รูปแบบและประเมินผลการใช้รูปแบบการพัฒนาศักยภาพใน การพึ่งพาตนเองทางด้านเศรษฐกิจของแม่หญิงใน สปป.ลาว การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาโดยผสมผสานวิธีทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการสัมภาษณ์เจาะลึก การสนทนากลุ่มและการประชุมระดม ความคิดเห็น กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย นักวางแผนการ ผู้บริหารข้าราชการ นักวิชาการที่เกี่ยวข้องในหน่วยงานของสหพันธ์แม่หญิงลาว กระทรวงการเงิน กระทรวงแผนการและการลงทุน กระทรวงเศรษฐกิจและการค้า&nbsp; กระทรวงภายใน&nbsp; ผู้บริหารจากศูนย์กลางสหพันธ์แม่หญิงลาว ตัวแทนของแม่หญิงจากชุมชน ผู้นำชุมชน รวมทั้ง แม่หญิงที่เป็นตัวแทนขององค์กรพัฒนาแม่หญิงลาว&nbsp; ผู้มีอำนาจการปกครองท้องถิ่นเจ้าเมือง ร่วมทั้งภาคีที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งหมด 100&nbsp; คน เครื่องมือที่ใช้เชิงคุณภาพคือแบบสัมภาษณ์เจาะลึก และการสนทนากลุ่มในประเด็นประชุมระดมความคิดเห็น ส่วนเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามแม่หญิงใน สปป.ลาว ทั้งหมด &nbsp;399 คน โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่มแบบแบ่งชั้น การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติ ร้อยละ และความถี่</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1) สภาพและปัญหาการพึ่งพาตนเองทางด้านเศรษฐกิจของแม่หญิงลาวใน&nbsp; สปป.ลาว พบว่า ด้านรายได้และรายจ่ายในครัวเรือน พบว่าแม่หญิงลาวมีรายได้สุทธิ/เดือนอยู่ระหว่าง 1,000,0001-3,000,000 กีบ ร้อยละ 44.40&nbsp; และ ด้านรายจ่ายมีค่าใช้จ่ายพื้นฐานในการดำรงชีวิตเป็นค่าอาหาร 16,306,600.79 กีบ ต่อปี ร้อยละ 35.41 ด้านภาระหนี้สินในครัวเรือน มีภาระหนี้สิน ร้อยละ 62.65 ด้านการทำบัญชีครัวเรือนไม่เคยทำการทำบัญชี ร้อยละ 85.98 ด้านการเข้าถึงแหล่งทุน ได้รับการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจจากแหล่งสนับสนุน&nbsp; ร้อยละ 55 และด้านที่อยู่อาศัยเป็นเจ้าของที่ยู่อาศัยในพื้นที่ดินตนเอง ร้อยละ 78.44</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2) ผลการสร้างรูปแบบการพัฒนาศักยภาพในการพึ่งพาตนเองทางด้านเศรษฐกิจของแม่หญิงใน &nbsp;สปป. ลาว ได้ 5 รูปแบบ (1) รูปแบบรายได้และรายจ่าย (2) รูปแบบภาระหนี้สิน (3) รูปแบบการทำบัญชีครัวเรือน &nbsp;(4) รูปแบบการเข้าถึงแหล่งทุน และ (5) รูปแบบที่อยู่อาศัย</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3) &nbsp;ผลการทดลองรูปแบบและประเมินผลการใช้รูปแบบการพัฒนาศักยภาพในการพึ่งพาตนเองทางด้านเศรษฐกิจของแม่หญิงใน สปป.ลาว คือ (1) รูปแบบรายได้และรายจ่าย ได้ดำเนิน 2 กิจกรรม คือการอบรมวิธีทำบัญชีรายรับรายจ่ายในครัวเรือน และ การลดรายจ่ายในครัวเรือนโดยการทำพืชผักสวนครัว (2) รูปแบบภาระหนี้สิน ได้ดำเนิน 3 กิจกรรม คือ อาชีพเสริมการแปรรูปอาหาร อาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า และ อาชีพเย็บกระเป๋าผ้า &nbsp;(3) รูปแบบการทำบัญชีครัวเรือน ได้ดำเนินกิจกรรม คือ การจัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายในครัวเรือน (4) รูปแบบการเข้าถึงแหล่งทุนได้ดำเนิน 2 กิจกรรมคือการอบรมความรู้การเข้าถึงแหล่งทุน และการจัดตั้งกองทุนหมู่บ้านในชุมชน และ (5) รูปแบบที่อยู่อาศัย ได้ดำเนิน 2 กิจกรรม คือการรักษาสิ่งแวดล้อมรอบบริเวณบ้านและการส่งเสริมความปลอดภัยรูปแบบไฟฟ้าภายในบ้าน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การประเมินผลการใช้รูปแบบพบว่าแม่หญิงมีรายได้เพิ่มขึ้นนำไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ มีทักษะในการจัดการดูแลบ้านให้ปลอดภัยจากอัคคีภัย&nbsp; มีการปลูกผักสวนครัวไว้บริโภคและจำหน่าย</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purposes of this research were : 1) to study the current state and problems of potential of self-economic reliance of Lao women in Lao PDR 2) to construct the model of development of potential of self-reliance of Lao PDR and 3) to implement and evaluate the model of development of potential of self-reliance of Lao PDR This is a mix method of qualitative and quantitative research. The qualitative research was conducted by an in-depth interview, a focus group discussion and brainstorming sessions. The target groups were 100 informants including planners, administrators, civil servants, academicians from relevant offices under Lao Women’s Union, ministry of finance, ministry of planning and investment, ministry of industry and commerce, administrators from ministry under administration of Lao Women’s Union, representatives’ women in community, community leaders, representatives from Lao Women’s Union, local governors and relevant parties. Tools for qualitative research included an in-depth interview, a focus group discussion and brainstorming sessions while tools from quantitative research were questionnaires. 399 samples the stratified random sampling were leaders of Lao Women’s Union in Vientiane, content analysis was used for analyzing the qualitative data while statistics for quantitative data was percentage and frequency.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The findings of this research were:</p> <ol> <li>The current state and problems of potential of self-economic reliance of Lao women in Lao PDR found income and household expenses that Lao women earned approximately 1,000,001 – 3,000,000 kip monthly at 44.40%. Their living expenses were 16,306,600.79 kip annually at 35.41%. Household debts were at 62.65%. They never did household accounts at 85.98%. They got economic supports at 55% and owned their pieces of land at 78.44%.</li> <li>The construction of the model of development of potential of self-reliance of Lao PDR found 5 models: (1) an income and expense model (2) a debt model (3) a household account model (4) an access to finance model and (5) a residence model.</li> <li>The results of experimental model and evaluation found the model of development of potential of self-reliance of Lao PDR as (1) 2 undertaking activities for the income and expense model by providing household account workshops and growing home vegetables to decrease expenses (2) 3 undertaking activities by promoting food processing, sewing clothes and sewing cloth bags (3) an undertaking activities of household account management (4) 2 undertaking activities of an access to finance by having finance workshops and village funds and (5) 2 undertaking activities by conserving household environment and home electrical safety.</li> </ol> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Evaluations of the model found that Lao women earned more income leading to self-reliance with regard to home electrical safety and growing home vegetables for distribution.</p> 2020-01-20T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/189188 สมรรถนะระดับบุคคลที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ในสังกัดศูนย์ปฏิบัติการตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ (The Effect of Individual Competencies on Job Performance of Police officers in the Southern Border Provinces Police Operation Center.) 2020-01-21T16:40:06+07:00 นภัสนันท์ ผาสุข (Naphassanan Phasuk) aj.pu@icloud.com อิศรัฏฐ์ รินไธสง (Idsaratt Rinthaisong) idsaratt.r@psu.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบโมเดลเชิงสาเหตุสมรรถนะระดับบุคคลที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดศูนย์ปฏิบัติการตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 960 คน โดยเป็นข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานในสถานีตำรวจปริมาณงานสูง 3 จังหวัดได้แก่ จังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาส จำนวน 32 กลุ่มงาน 480 คน และข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานในสถานีตำรวจปริมาณงานรองลงมาใน 3 จังหวัดข้างต้นจำนวน 32 กลุ่มงาน 480 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ส่วนเครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามซึ่งเป็นแบบมาตรประเมินค่า 5 ระดับ โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติบรรยาย สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันด้วยโปรแกรม SPSS ส่วนการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุด้วยโปรแกรม Mplus</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัย พบว่า 1) โมเดลเชิงสาเหตุสมรรถนะระดับบุคคลที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจฯ มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งพิจารณาได้จากค่า χ² = 1805.413, <em>df</em> = 553, <em>p</em> = 0.000, χ²/<em>df</em> = 3.265 ดัชนี CFI = 0.921, TLI = 0.914, RMSEA = 0.049, SRMR<sub>W</sub> = 0.036 และ SRMR<sub>B</sub>&nbsp;= 0.420 2) ปัจจัยเชิงสาเหตุสมรรถนะระดับบุคคลส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ สมรรถนะเชิงวัฒนธรรม สมรรถนะหลัก และสมรรถนะของตำแหน่งงานในสถานีตำรวจ ทั้งนี้ชุดตัวแปรทำนายระดับบุคคลสามารถอธิบายความแปรปรวนผลการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจฯ ได้ร้อยละ 71.10</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The purposes of the study to test the multilevel causal model of individual competencies affecting the performance of police in the Southern Border Provinces Police Operation Center. By multistage samplings, there are 64 working groups and 960 individuals collected as samples for analysis of organization or task classification in the police station. 32 groups and 480 individuals are police officers in the police stations with higher numbers of tasks in the three provinces: Yala, Pattanee, and Narathivas; another 32 groups and 480 individuals are police officers in the police stations with less smaller numbers of tasks in the aforementioned 3 provinces. The tools used are 5-level rating scale, Descriptive Statistics analysis, Pearson’s Correlation Analysis by SPPS Program, Confirmatory Factor Analysis, Multilevel Confirmatory Factor Analysis, and Multilevel Causal Analysis by Mplus program.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results are: 1) the multilevel causal model of the police officers performance correlates with the empirical data as followed χ² = 1805.413, <em>df</em> = 553, <em>p</em> = 0.000, χ²/<em>df</em> = 3.265 CFI index = 0.921, TLI = 0.914, RMSEA = 0.049, RMSEA = 0.049, SRMR<sub>W</sub> = 0.036 และ SRMR<sub>B</sub>&nbsp;= 0.4202) The competencies or individual causal factors, statistically and significantly affecting to job performance of police officers, are cultural competency, core competency, and police officers position competency. Individual predictor variables can verify the variance of police officers performance at 71.10% respectively.</p> 2020-01-21T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/208080 MICE Business: Strategy Formation Using SWOT Analysis and TOWS Matrix Case Study: Strategy Formation for MICE Business in terms of Conventions and Exhibitions in Thailand. 2020-05-13T11:25:06+07:00 Nopparat Boonpienpon nopparat@ms.su.ac.th Busarin Wongwiwattana busarin@ms.su.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This article aims to study the marketing mix of MICE Business and analysis of the opportunities, strengths, weaknesses, and threats, and also to investigate a case study of MICE Business involving conventions and exhibitions in Thailand. The technique called “TOWS Matrix” is used as a method which yields benefits to MICE entrepreneurs or stakeholders. The analysis for the strategy formation is divided into the following four types: SO Strategy, ST Strategy, WO Strategy, and WT Strategy.</p> 2020-05-13T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/198654 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราชานุบาล จังหวัดน่าน (Development of an Electronic Book in the Career and Technology Learning Area on the Topic of information Technology for Prathom Suksa III Students at Rachanuban School in Nan Province) 2020-07-13T10:54:01+07:00 ดวงดาว เดชเสน (Doungdao Dechsen) doungdaods@gmail.com ศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์ (Sunsanee Sungsunanan) AssociateProfessors_anun45@hotmail.com ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ (Taweewat Watthanakuljaroen) AssociateProfessortaweewat.wat@stou.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี&nbsp; เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราชานุบาล จังหวัดน่าน ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราชานุบาล จังหวัดน่าน จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ในครั้งนี้ได้แก่ (1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี&nbsp; เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์&nbsp; สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าประสิทธิภาพ E<sub>1</sub>/E<sub>2 </sub>&nbsp;ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพ 80.54/80.65 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80&nbsp; (2) นักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในระดับมาก</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purposes of this research were (1) to develop an electronic book in Career and Technology Learning Area on the Topic of information Technology for Prathom Suka III students of&nbsp; Rachanuban School in Nan province based on the set efficiency criterion;&nbsp; (2) to study the learning progress of students who learned from the electronic book on the topic of information Technology; and (3) to study the students’ satisfaction with the electronic book on the topic of&nbsp; information Technology.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research sample consisted of 40 Prathom Suksa III students of&nbsp; Rachanuban School in Nan province, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) an electronic book in the Career and Technology Learning Area on the Topic of information Technology; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and &nbsp;post-testing; and (3) a questionnaire on student’s satisfaction with the electronic book.&nbsp; Statistics for data analysis were the E<sub>1</sub>/E<sub>2</sub> , percent,&nbsp; mean, standard deviation efficiency index, and t-test.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The research findings were as follows: (1) the developed electronic book in the Career and Technology Learning Area on the Topic of information Technology for Prathom Suksa III students of Rachanuban School in Nan province was efficient at 80.54/80.65, thus meeting the 80/80 efficiency criterion; (2) the students who learned from the electronic book achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3)the students were satisfied with the electronic book at the high level.</p> 2020-07-13T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/191742 การสร้างคุณค่าตราสินค้าและกระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ผลไม้แปรรูปของผู้บริโภค ที่ซื้อสินค้าจากร้านสะดวกซื้อในเขตกรุงเทพมหานคร (Building Brand Equity and Process of Decision-Making of Consumers Who Purchase Freeze Dried Fruits from Convenience Store in Bangkok) 2020-08-11T13:46:14+07:00 กานต์ เชาวน์นิรัติศัย (Karn Chaonirattisai) karncha@pim.ac.th <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;The research on “Building brand equity and process of decision-making of consumers who purchase freeze dried fruits from convenience store in Bangkok” aims to study (1) how producers building brand equity for freeze dried fruit by freeze dried fruit company and (2) the decision making process of consumers patronizing convenience stores in Bangkok. In-depth interviews were conducted and a focus group was established. The study was designed according to Aaker (2002) brand equity model. The key informants were senior executive and marketing communication managers of two companies as well as consumers aged between 20 and 50 years who have experience buying products in convenience stores.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Research findings are as follow: (1) Producers use online and offline channels to create product loyalty. (2) Producers relate product position to target customers and create product awareness. (3) Producers make distinctions between natural food products with no additives and food products with additives such as seasoning. (4) Producers differentiate product packaging and use story-telling strategy for each product. (5) Producers maintain high-quality factory production processes according to industrial standards.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; As for the consumers’ decision to buy products, the study found that the sampled decision making process can be explained by Kotler and Armstrong‘s (2004) consumer behavior model. The key points of the model identified from the data include need recognition, information search, evaluation of alternatives, purchasing decision and post purchase behavior.</p> 2020-08-11T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/233837 กองบรรณาธิการ 2020-01-03T10:55:47+07:00 Veridian E-Journal Silpakorn University gradsu.jr@gmail.com 2019-09-27T00:00:00+07:00 Copyright (c) 0 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/218505 สารบัญ 2020-07-13T11:05:50+07:00 Veridian E-Journal Silpakorn University gradsu.jr@gmail.com 2019-09-27T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/236122 ผู้ทรงคุณวุฒิ 2020-01-24T12:34:39+07:00 Veridian E-Journal Silpakorn University gradsu.jr@gmail.com 2019-09-27T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2020 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/233832 ใบรองปก 2020-01-03T10:47:11+07:00 Veridian E-Journal Silpakorn University gradsu.jr@gmail.com 2019-09-27T00:00:00+07:00 Copyright (c) 0