Thai Journal of Nursing and Midwifery Practice
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/apnj
<p>วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย เป็นวารสารวิชาการทางการพยาบาล ดำเนินการโดยสมาคมผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง (ประเทศไทย) ร่วมกับวิทยาลัยพยาบาลและผดุงครรภ์ขั้นสูงแห่งประเทศไทย โดยการสนับสนุนของสภาการพยาบาล มีระบบการบริการแบบสากล คือ มีกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกตามจำนวนที่ สกอ.และ TCI กำหนด มีการประเมินคุณภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ทุกบทความความต้องได้รับการตรวจพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน และการพิจารณานั้นจะเป็นแบบ double blind</p> <p>วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย อยู่ในฐานข้อมูลของ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index-TCI) กลุ่มที่ 2 โดยศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index (TCI) Centre) ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ประกาศผลการประเมินคุณภาพวารสารวิชาการที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI รอบที่ 4 ครั้งที่ 3 (พ.ศ. 2565 – 2567)</p> <p><strong>การตีพิมพ์เผยแพร่</strong><strong> </strong>วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย จัดพิมพ์ 2 ฉบับต่อปี </p> <p>ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน</p> <p>ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม</p> <p> </p> <p><strong>ISSN 3057-1529 (Print) </strong><br /><strong>ISSN 3057-1561 (Online)</strong></p> <p> </p> <p>- ตีพิมพ์วารสารเป็นรูปเล่ม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ถึง ปี พ.ศ. 2565</p> <p>- ตีพิมพ์เป็นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Journals) เท่านั้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป</p> <p><strong>อัตราค่าตีพิมพ์</strong> บทความที่ได้รับการตอบรับเพื่อตีพิมพ์ ผู้เขียนจะมีค่าใช้จ่าย ดังนี้</p> <p>1) สมาชิกสมาคมผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง (ประเทศไทย) ชำระค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิในการอ่านบทความจำนวน 3 ท่าน และค่าตอบแทนการแปล/Edit บทคัดย่อภาษาอังกฤษ เป็นเงิน จำนวน 2,500 บาท </p> <p> 2) ผู้ที่ไม่ใช่สมาชิกสมาคมฯ ตามข้อ 1) ชำระค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิในการอ่านบทความจำนวน 3 ท่าน และค่าตอบแทนการแปล/Edit บทคัดย่อภาษาอังกฤษ เป็นเงิน จำนวน 3,500 บาท</p> <p>ทั้งนี้ <strong>ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567</strong> เป็นต้นไป บทความที่ได้รับการตอบรับเพื่อตีพิมพ์ จะมีอัตราค่าธรรมเนียมใหม่ ดังนี้ </p> <p>1) สมาชิกสมาคมผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง (ประเทศไทย) ชำระค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิในการอ่านบทความจำนวน 3 ท่าน และค่าตอบแทนการแปล/Edit บทคัดย่อภาษาอังกฤษ <strong>เป็นเงินจำนวน 5,000 บาท/บทความ</strong></p> <p> 2) ผู้ที่ไม่ใช่สมาชิกสมาคมฯ ตามข้อ 1) ชำระค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิในการอ่านบทความจำนวน 3 ท่าน และค่าตอบแทนการแปล/Edit บทคัดย่อภาษาอังกฤษ <strong>เป็นเงินจำนวน 6,000 บาท/บทความ</strong></p> <p><strong>ช่องทางการชำระค่าตีพิมพ์</strong><strong> </strong>ชำระค่าตีพิมพ์โดยการโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์</p> <p>ธนาคารกรุงไทย สาขากระทรวงสาธารณสุข</p> <p>บัญชีเลขที่: 142 – 0 – 19768 – 1</p> <p>ชื่อบัญชี: สมาคมผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง (วารสาร)</p> <p><strong><em>******ให้ชำระเงินค่าธรรมเนียมหลังจากได้รับแจ้งจากทางวารสารแล้วเท่านั้น**********</em></strong></p> <p><strong>ติดต่อกองบรรณาธิการได้ที่</strong> รศ.ดร.ประณีต ส่งวัฒนา (บรรณาธิการ) e-mail: tjnmp.2023@gmail.com</p>en-USpraneed.s@psu.ac.th (รองศาสตราจารย์ ดร.ประณีต ส่งวัฒนา)tjnmp.2023@gmail.com (รองศาสตราจารย์ ดร.ปราณีต ส่งวัฒนา)Wed, 26 Feb 2025 20:59:23 +0700OJS 3.3.0.8http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss60Development and Evaluation of a Triage Model Determining the Severity of Outpatients Using the Emergency Severity Index Combined with Early Warning Signs
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/apnj/article/view/272665
<p><strong>Abstract: </strong>This research and development (R&D) study aimed to develop and evaluate a triage model for determining the severity of outpatients using the Emergency Severity Index (ESI) combined with Early Warning Signs (EWS) of critical conditions. The framework for model development was based on Soukup's evidence-based practice model. The sample included 15 outpatient nurses and medical records of 18 patients who were referred from the outpatient department to the emergency room. Data were collected using instruments including a questionnaire of satisfaction of nurses using the triage model, an assessment form of consistency in triage between outpatient (OPD) nurses and emergency room (ER) nurses, and incidents of patients deteriorating into critical conditions while waiting for examination. Data were analyzed using descriptive statistics. The findings revealed that the developed triage model comprises two main components: 1) the ESI with EWS, including the assessment of respiratory rate, heart rate, oxygen saturation, systolic blood pressure, body temperature, level of consciousness, pain score, and fatigue, and 2) guidelines for patient care. Nurses were highly satisfied score with the developed triage model (Mdn=5, IQR=1. There was an 83.3% consistency in triage between outpatient and ER nurses. Furthermore, no incidents of patient deterioration to a critical condition while they were waiting to be examined at OPD. The results support the continuous use of this triage model by outpatient nurses to enhance patient safety and improve the quality of care.</p>Sumonta Kabinlapat, Ratjai Vachprasit, Kitipong Jantarapon
Copyright (c) 2025 Thai Journal of Nursing and Midwifery Practice
http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/apnj/article/view/272665Wed, 26 Feb 2025 00:00:00 +0700