A 29-year old woman G1P0, GA 35 weeks with progressive dyspnea

Authors

  • จริยา เสรีโยธิน แพทย์ประจำบ้านต่อยอด อนุสาขาเวชบำบัดวิกฤต คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ปวีนุช บุตรเจียมใจ แพทย์ประจำบ้านต่อยอด อนุสาขาเวชบำบัดวิกฤต คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • มนัสนันท์ คงวิบูลยวุฒิ หน่วยเวชบำบัดวิกฤต ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Abstract

ผู้ป่วยหญิงไทยคู่อายุ 29 ปี G1P0, GA 34 week อาชีพ เดิมทำงานก่อสร้าง (ปูพื้นกระเบื้อง) ภูมิลำเนา จังหวัดชลบุรี status เดิมทำงานได้ปกติ

อาการสำคัญ

เหนื่อยมากขึ้น 1 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล

ประวัติปัจจุบัน

5 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยได้รับการตรวจ พบว่า ตั้งครรภ์ โดยขณะนั้นอายุครรภ์ 14 สัปดาห์ ขณะนั้นเริ่มสังเกตว่าเหนื่อยง่ายขึ้น หลังเดินได้เพียง 50 เมตร หรือขึ้นบันได 1 ชั้น (10 ขั้น) ก็จะเริ่มมีอาการ เหนื่อย จึงพักงานก่อสร้าง

1 สัปดาห์ก่อน เหนื่อยมากขึ้น เดินได้ประมาณ 25 เมตร ก็ต้องหยุดพัก นอนราบแล้วหายใจลำบาก ต้องนอนหนุนหมอนสองใบ หรือนั่งหลับ สังเกตว่าขาทั้งสองข้างบวมขึ้น ปัสสาวะออกน้อยลง ไม่มีไข้ ไม่มีอาการ ปวดศีรษะ ตามัว หรือจุกแน่นลิ้นปี่ วันก่อน นั่งพักรู้สึกเหนื่อยหายใจเร็ว ญาติสังเกตว่า ปากเขียว จึงนำส่งโรงพยาบาล

ประวัติอดีต:

• ผนังหัวใจรั่ว ตรวจพบเมื่ออายุ 5 ปี ไปตรวจเนื่องจากมีไข้ และแพทย์ตรวจได้ยินเสียงหัวใจผิดปกติ แนะนำให้ผ่าตัดรักษา แต่ผู้ป่วยไม่ได้ไปตรวจติดตามการรักษา

• G1P0, GA 34 week ฝากครรภ์ไม่สม่ำเสมอ น้ำหนักระหว่างตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น 18 กิโลกรัม (จากเดิม 58 กิโลกรัม เพิ่มขึ้นเป็น 76 กิโลกรัม)

• ไม่มีประวัติสูบบุหรี่ หรือดื่มสุรา ปฏิเสธประวัติการใช้สารเสพติด

Physical examination :

At emergency department

Vital signs: Temp 36.8oc, BP 104/63 mmHg , PR 110/min, RR 24/min, SpO2 (RA) 60%

• General appearance: An adult Thai female, cyanotic, appeared restless & tachypneic

• HEENT: no pale conjunctivae, anicteric sclerae, central cyanosis

• Heart: engorged neck vein up to mandible, apical impulse at 6th ICS, 1 cm lateral to MCL, (+) RV and LV heaving, no thrill, normal S1, loud P2, PSM gr III/VI at LLPSB, Carvallo’s sign positive, no S3/S4 gallop.

• Lung: equal chest wall expansion, normal and equal breath sounds, fine crepitation at both lower lung fields

• Abdomen: FH ¾ above the umbilicus, FHR 140/min, no uterine contraction

• Extremities: pitting edema 3+ both leg

References

Regitz-Zagrosek V, Blomstrom Lundqvist C, Borghi C, Cifkova R, Ferreira R, Foidart JM, et al. ESC Guidelines on the management of cardiovascular diseases during pregnancy: the Task Force on the Management of Cardiovascular Diseases during Pregnancy of the European Society of Cardiology (ESC). Eur Heart J 2011;32:3147-97.

Kholdani CA, Fares WH. Management of Right Heart Failure in the Intensive Care Unit. Clin Chest Med 2015;36:511-20.

Kahn, Mark L.Eisenmenger’s syndrome in pregnancy.NEng J Med.1993;329(12):887.

MukhopadhyavPartha, Bhattacharya Popli and Begun Nilofur.Successful Pregnancy Outcome with Eisenmengersyndrome.The Journal of Obsterics and Gynecology of India.2012;62(1):68-69.

Shi-Min Yuan.Eisenmenger Syndrome in Pregnancy.Barz J Cardiovasc Surg.2016;31(4):325-9.

P.G.Pieper.E.S.Hoendermis. Pregnancy in women with pulmonary hypertension. Neth Heart J.2011;19:504- 508.

Pollack KL,ChestnutDH,Wenstrom KD, Anesthetic management of a parturient with Eisenmenger’ssyndrome. Anes Analg.1990;70(2):212-5.

Downloads

Published

2018-06-29

How to Cite

1.
เสรีโยธิน จ, บุตรเจียมใจ ป, คงวิบูลยวุฒิ ม. A 29-year old woman G1P0, GA 35 weeks with progressive dyspnea. Clin Crit Care [Internet]. 2018 Jun. 29 [cited 2024 Apr. 24];26(1):11-6. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ccc/article/view/250163

Issue

Section

Critical Care Pearl