@article{หมอกเจริญพงศ์_2017, place={Bangkok, Thailand}, title={Ethics in the Intensive Care Unit (part 1/2)}, volume={25}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ccc/article/view/250149}, abstractNote={<p>ไอซียู คือ สถานที่ที่ผู้ป่วยมักจะเสียชีวิตมากที่สุด ดังนั้น ในสภาวการณ์ หรือสภาพในไอซียูย่อมทำให้ เกิดความขัดแย้งระหว่างผู้ป่วย ญาติ และบุคลากรทางการแพทย์ได้ง่าย ดังนั้น ทีมแพทย์ไอซียูจึงควรมีความชำนาญในการตัดสินใจด้านจริยธรรม และความขัดแย้งที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ คือ เรื่องพฤติกรรม เช่น การใช้คำพูดที่สบประมาท หรือการสื่อสารที่ไม่ดีระหว่างแพทย์ และพยาบาล การดูแลในระยะท้ายที่ขาดความเคารพในตัวตนของผู้ป่วย (patient autonomy) ความขัดแย้งด้านจริยธรรมโดยส่วนใหญ่จะสัมพันธ์กับความกดดันจากงาน และ Burnt-out syndrome ของบุคลากรทางการแพทย์ และอาจจะส่งผลร้ายต่อคุณภาพของการดูแลรักษา การที่จะพัฒนาคุณภาพของการดูแลรักษานั้นต้องมีการจัดการที่ดีในด้านจริยธรรมอย่างเหมาะสมเพราะเป็นสิ่งที่สำคัญ และสร้างความเข้าใจในสิ่งเหล่านี้หมอไอซียูจำเป็นต้องมีความไวต่อความขัดแย้งด้านพฤติกรรม และสามารถที่จะร่วมตัดสินใจในการดูแลวาระท้ายของชีวิต ในขณะเดียวกันองค์กร และการบริหารจัดการก็ควรที่จะพัฒนากระบวนการต่าง ๆ เพื่อที่จะค้นหา และแก้ไขความขัดแย้งด้านจริยธรรมด้วย</p>}, number={1}, journal={Clinical Critical Care}, author={หมอกเจริญพงศ์ ฉันทนา}, year={2017}, month={Jun.}, pages={23–26} }