@article{Khumphongphan_Wongwuttisaroj_2018, title={Expectation, Perceived Responsiveness, and Satisfaction of Costumers to Services Obtaining from the Office of Institutional Review Board, Faculty of Nursing, Mahidol University: ความคาดหวัง การได้รับการตอบสนอง และความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการบริการของสำนักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล}, volume={35}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/116190}, abstractNote={<p>            <strong>Purpose:</strong> To explore the expectation, perceived responsiveness, satisfaction, and additional needs of customers to services obtaining from the office of Institutional Review Board, Faculty of Nursing, Mahidol University (IRB-NS); and the relationship between the expectations, perceived responsiveness, and satisfaction of customers.</p> <p><strong>            Design:</strong> Descriptive correlational design.</p> <p><strong>            Methods:</strong> Data were collected from 71 customers who submitted the research protocols for approval from the IRB-NS since 2012-2015; using online questionnaires.</p> <p>            <strong>Main findings:</strong> The highest expectation service was the time period of consideration (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x}"> = 86.39, SD = 22.24).  The highest of the perceived responsiveness service was the IRB-NS website (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x}"> = 85.45, SD = 22.53).  The highest satisfaction service was the recommendation about administrative process from the IRB-NS staff (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x}"> = 89.32, SD = 18.91).  The expectation was positively related to the perceived responsiveness and the perceived responsiveness was positively related to the satisfaction (<em>r<sub>s</sub></em> = .700, .595, p < .01).  The extra services that were equally needed by customers were the online submission and the personal consulting for revision followed by the committee’s comments at 69.0%.</p> <p>            <strong>Conclusion and recommendations:</strong> The service from the IRB-NS office should be in accordance with the customers’ expectation.  The service for the time period of consideration should be improved.  The IRB-NS office should arrange the extra services for revising the protocol until finished.  </p> <p> </p> <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p><strong>          วัตถุประสงค์</strong><strong>:</strong> เพื่อศึกษาความคาดหวัง การได้รับการตอบสนอง ความพึงพอใจ และความต้องการบริการเพิ่มเติม ของผู้รับบริการ และความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและการได้รับการตอบสนองกับความพึงพอใจของผู้รับบริการ จากสำนักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล</p> <p><strong>          รูปแบบการวิจัย:</strong> การวิจัยเชิงพรรณาแบบสหสัมพันธ์</p> <p><strong>          วิธีดำเนินการวิจัย</strong><strong>: </strong>เก็บข้อมูลจากผู้รับบริการที่ขอรับการพิจารณารับรองโครงการวิจัยจากคณะกรรมการฯ ในปี พ.ศ. 2555-2557 จำนวน 71 คน (ร้อยละ 34.8) โดยแบบสอบถามออนไลน์</p> <p><strong>          ผลการวิจัย</strong><strong>:</strong> กิจกรรมการบริการที่ผู้รับบริการคาดหวังมากที่สุด ได้แก่ ระยะเวลาที่ผู้รับบริการทราบผลการพิจารณาในแต่ละกระบวนการฯ (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x}"> = 86.39, SD = 22.24) กิจกรรมการบริการที่ได้รับการตอบสนองมากที่สุด ได้แก่ เว็บไซต์ของสำนักงานฯ (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x}"> = 85.45, SD = 22.53) กิจกรรมการบริการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด ได้แก่ การให้คำแนะนำในด้านธุรการจากเจ้าหน้าที่สำนักงานฯ (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x}"> = 89.32, SD = 18.91) ทั้งนี้ ความคาดหวังมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการได้รับการตอบสนองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และการได้รับการตอบสนองมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (<em>r<sub>s</sub></em> = .700 และ .595 ตามลำดับ, p < .01) ส่วนกิจกรรมการบริการที่ผู้รับบริการต้องการให้เพิ่มเติมมากที่สุด คือ ระบบลงทะเบียนยื่นแบบเสนอโครงการฯ ผ่านช่องทางออนไลน์ และระบบการให้คำปรึกษารายบุคคลเกี่ยวกับแนวทางการปรับแก้ไขตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ โดยมีสัดส่วนที่เท่ากัน คือ ร้อยละ 69.0</p> <p><strong>          สรุปและข้อเสนอแนะ:</strong> การจัดบริการของสำนักงานฯ ควรเป็นไปตามความคาดหวังของผู้รับบริการ โดยควรปรับปรุงกิจกรรมการบริการในด้านระยะเวลาที่ผู้รับบริการทราบผลการพิจารณาในแต่ละกระบวนการฯ และควรจัดบริการให้คำปรึกษารายบุคคลเกี่ยวกับการเขียนแบบเสนอโครงการและแนวทางการปรับแก้ไขตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ</p>}, number={4}, journal={Nursing Science Journal of Thailand}, author={Khumphongphan, Weerachai and Wongwuttisaroj, Natta}, year={2018}, month={Jan.}, pages={87–97} }