@article{Phuong_Puwarawuttipanit_Chanruangvanich_2017, title={Relationships between Self-efficacy, Depression, Anxiety and Quality of Life among Patients with Chronic Obstructive Pulmonary Disease: ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรรถนะแห่งตน ภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง}, volume={35}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/116706}, abstractNote={<p><strong>          Purpose:</strong> To examine the relationships between self-efficacy, depression, anxiety, and quality of life (QOL) in patients with Chronic Obstructive Pulmonary Disease (COPD).</p> <p><strong>          Design: </strong>Descriptive correlational design.</p> <p><strong>          Methods: </strong>Sample was 115 COPD patients who were treated at Hai Duong General Hospital, Hai Duong City, Vietnam.  Data were collected with 5 questionnaires including demographic data, COPD Self-efficacy Scale (CSES), patient health questionnaire 9 (PHQ-9) to measure depression, generalized anxiety disorder 7-item (GAD-7), and a clinical COPD questionnaire (CCQ) to measure quality of life.  Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman’s Rho correlation.</p> <p><strong>          Main findings:</strong> The findings revealed self-efficacy was positively correlated with quality of life (<em>r<sub>s</sub></em> = .586, p < .05).  Depression and anxiety were negatively correlated quality of life (<em>r<sub>s</sub></em> = - .279, and - .506, p < .05).   </p> <p><strong>          Conclusion and recommendations: </strong>The results showed that self-efficacy significantly increased QOL, but depression and anxiety significantly reduced QOL among COPD patients.  Therefore, nurses should consider to create pulmonary rehabilitation program using these variables to improve QOL in COPD patients.</p> <p> </p> <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p><strong>               </strong><strong>วัตถุประสงค์:</strong> ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมรรรถนะแห่งตน ภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง<strong>              </strong></p> <p><strong>               รูปแบบการวิจัย:</strong> การศึกษาเชิงพรรณนาความสัมพันธ์</p> <p><strong>               วิธีดำเนินการวิจัย:</strong> กลุ่มตัวอย่างจำนวน 115 คนที่เป็นโรค COPD ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาล ไห เดือง จังหวัดไหเดือง ประเทศเวียดนาม เก็บรวบรวมโดยใช้แบบสอบถาม 5 ชุด ได้แก่ แบบสอบถามส่วนบุคล สมรรรถนะแห่งตนของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง PHQ-9 เพื่อวัดภาวะซึมเศร้า แบบวัดความวิตกกังวลทั่วไป 7 รายการ (GAD-7) และแบบสอบ Clinical COPD Questionnaire (CCQ) เพื่อวัดคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ โดยใช้สถิติเชิงบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยใช้สถิติ Spearman’s rho<strong>     </strong></p> <p><strong>               ผลการศึกษา:</strong> ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิต (<em>r<sub>s</sub></em> = .586, p <.05) ภาวะซึมเศร้าและความวิตกกังวลมีความสัมพันธ์ในทางลบกับคุณภาพชีวิต (<em>r<sub>s</sub></em> = - .279, และ - .506, p < .05)</p> <p>              <strong>สรุปและข้อเสนอแนะ:</strong> ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า การรับรู้สมรรถนะในตนเองมีผลต่อการเพิ่มคุณภาพชีวิต แต่ในทางกลับกันภาวะซึมเศร้าและความวิตกกังวลทำให้คุณภาพชีวิตลดลง ดังนั้นพยาบาลควรพิจารณาสร้างโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด โดยคำนึงถึงตัวแปรเหล่านี้ เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังให้ดีขึ้น</p>}, number={3}, journal={Nursing Science Journal of Thailand}, author={Phuong, Pham Thi Thanh and Puwarawuttipanit, Wimolrat and Chanruangvanich, Wallada}, year={2017}, month={Oct.}, pages={47–55} }