@article{Thuy_Thosingha_Chanruangvanich_2018, title={Factors Related to Recovery in Patients after Total Hysterectomy: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการฟื้นตัวของผู้ป่วยหลังผ่าตัดเอามดลูกออกทั้งหมด}, volume={35}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/116718}, abstractNote={<p><strong>Purpose</strong><strong>:</strong> To identify factors related to recovery among patients after total hysterectomy<strong>.</strong></p> <p><strong>Design</strong><strong>:</strong> Descriptive correlational design.<strong>       </strong></p> <p><strong>Methods</strong><strong>:</strong> The sample composed of 115 adult patients after total hysterectomy at Bach Mai Hospital and the National Hospital of Obstetrics & Gynecology, Hanoi, Viet Nam<strong>.</strong>  Data were collected using the patients’ medical record and interviewed with 3 questionnaires: 1) the Numerical Rating Scale, 2) the Multidimensional Scale of Perceived Social Support, and 3) the Quality of Recovery-15<strong>.</strong>  Spearman’s Rho was employed to test correlation among studied variables<strong>. </strong></p> <p><strong>Main findings:</strong> The findings revealed that pain score was negatively related to recovery (<em>r<sub>s</sub></em> = <strong>- .</strong>70, p < <strong>.</strong>05); while co-morbidity and social support were not related to recovery (p > .05)<strong>. </strong></p> <p><strong>Conclusions and recommendations:</strong> Pain was the vital factor inhibiting patients’ recovery.<strong>   </strong>Therefore, in order to promote the patients’ smooth transition to their optimum recovery, pain should be well controlled.<strong>  </strong>Pain management protocol should be developed and tested for their effectiveness through research before implementation.</p> <p> </p> <p> </p> <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p><strong>วัตถุประสงค์: </strong>เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการฟื้นตัวของผู้ป่วยหลังผ่าตัดเอามดลูกออกทั้งหมด</p> <p><strong>รูปแบบการวิจัย: </strong>การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์</p> <p><strong>วิธีดำเนินการวิจัย: </strong>กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภายหลังการผ่าตัดเอามดลูกออกทั้งหมดจำนวน 115 คน ที่รับการรักษาที่หอผู้ป่วยหลังผ่าตัด โรงพยาบาลบัคมาย และโรงพยาบาลสูตินรีเวช กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม และเก็บข้อมูลบางส่วนจากแฟ้มประวัติของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรโดยใช้สถิติสเปียร์แมนโรว์</p> <p><strong>ผลการวิจัย:</strong> ผลการศึกษาพบว่า ความปวดมีความสัมพันธ์ทางลบกับการฟื้นตัวของผู้ป่วยหลังผ่าตัดเอามดลูกออกทั้งหมด (<em>r<sub>s</sub></em> =<strong> - .</strong>70, p < <strong>.</strong>05) อย่างไรก็ตาม การมีโรคร่วมและการสนับสนุนทางสังคมไม่มีความสัมพันธ์กับการฟื้นตัวหลังการผ่าตัดเอามดลูกออกทั้งหมด</p> <p><strong>สรุปและข้อเสนอแนะ:</strong> เนื่องจากความปวดหลังผ่าตัดเป็นปัจจัยสำคัญที่ขัดขวางการฟื้นตัว ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดการเปลี่ยนผ่านอย่างราบรื่นจนเกิดการฟื้นตัวได้อย่างเต็มที่ ผู้ป่วยควรได้รับการควบคุมความปวดอย่างมีประสิทธิภาพหลังการผ่าตัด และควรมีการพัฒนาแนวปฏิบัติเพื่อควบคุมความปวด และนำไปทดสอบประสิทธิผลด้วยงานวิจัยก่อนนำไปใช้</p>}, number={4}, journal={Nursing Science Journal of Thailand}, author={Thuy, Pham Thi Thu and Thosingha, Orapan and Chanruangvanich, Wallada}, year={2018}, month={Jan.}, pages={12–20} }