@article{Prakobchai_Kusuma Na Ayuthya_Wattanakitkrileart_Buranakitjaroen_2015, title={Factors Influencing Medication-Taking Behavior of Hypertensive Patients}, volume={32}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/28526}, abstractNote={<p><strong>Purpose</strong>: To examine predictive factors of gender, age, educational level, income, perceived severity of hypertension, and perceived self-efficacy on medication-taking behavior of hypertensive patients.</p><p><strong>Design</strong>: Correlational predictive design.</p><p><strong>Methods</strong>: The subject consisted of 98 essential hypertensive patients who received hypertensive drugs and came for treatment and follow-up at hypertension clinic, out-patient department, university hospital, Thailand. Questionnaires were used for data collection. Data were analyzed by using descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation coefficient, and multiple regression analysis.</p><p><strong>Main findings</strong>: The medication-taking behavior of hypertensive patients was at a very good level. Perceived severity of hypertension and perceived self-efficacy to medication-taking behavior had statically significant positive correlations with medication-taking behavior (r = .444, p <.01; r = .550, p < .01) whereas educational level had a negative relationship with medication-taking behavior (r = -.260, p < .01). Level of education, perceived severity of hypertension, and perceived self-efficacy to medication-taking behavior could jointly predict 38.9% of the variance in medication-taking behavior (R<sup>2</sup> = .389, p < .01).</p><p><strong>Conclusion and recommendations</strong>: According to the study findings, health care providers should inform the patients about the severity of hypertension and enhance their perceived self-efficacy for long-term adherence to regimen. </p><p><strong>Keywords</strong>: medication-taking behavior, perceived self-efficacy, perceived severity, hypertension</p><p> </p><p> </p><p><strong>ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง</strong></p><p><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p><strong>วัตถุประสงค์</strong>: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัยด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ การรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง และการรับรู้สมรรถนะของตนเองต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง</p><p><strong>รูปแบบการวิจัย</strong>: การวิจัยเชิงทำนายความสัมพันธ์</p><p><strong>วิธีดำเนินการวิจัย</strong>: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ 98 คน ที่รับประทานยาความดันโลหิตสูงและมาติดตามการรักษาท่คี ลินิกโรคความดันโลหิตสูง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ความถดถอยแบบพหุคูณ</p><p><strong>ผลการวิจัย</strong>: พฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงอยู่ในระดับดีมาก การรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง และการรับรู้สมรรถนะของตนเองต่อพฤติกรรมการรับประทานยา มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการรับประทานยาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .444, p < .01; r = .550, p < .01) ตามลำดับ โดยระดับการศึกษามีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการรับประทานยาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = - .260, p < .01) ระดับการศึกษา การรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง และการรับรู้สมรรถนะของตนเองต่อพฤติกรรมการรับประทานยา สามารถร่วมกันทำนายความแปรปรวนพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 38.9 (R<sup>2</sup> = .389, p < .01)</p><p><strong>สรุปและข้อเสนอแนะ</strong>: จากผลการศึกษาครั้งนี้ บุคลากรด้านสุขภาพควรให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับความรุนแรงของภาวะความดันโลหิตสูง และควรส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะของตนเองเพื่อการรับประทานยาตามแผนการรักษาอย่างต่อเนื่อง</p><p><strong>คำสำคัญ</strong>: พฤติกรรมการรับประทานยา การรับรู้สมรรถนะของตนเอง การรับรู้ความรุนแรง โรคความดันโลหิตสูง</p>}, number={4}, journal={Nursing Science Journal of Thailand}, author={Prakobchai, Sattha and Kusuma Na Ayuthya, Sasima and Wattanakitkrileart, Doungrut and Buranakitjaroen, Peera}, year={2015}, month={Jan.}, pages={43–51} }