@article{Thaewpia_Panmaung_Khamsawarde_Baothong_Thuntum_Phusee_Puttabut_2015, title={Authentic Learning Instructional Model to Enhance the Midwifery Competency and Learning Achievement of Nursing Students}, volume={33}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/41828}, abstractNote={<p style="text-align: justify;"><strong>Purpose:</strong> To 1) develop the authentic learning instructional model, and 2) to study the effects of the authentic learning instructional model on midwifery competency and learning achievement of nursing students.</p><p><strong>Design:</strong> Research and development design.</p><p style="text-align: justify;"><strong>Methods:</strong> Sixty-three participants including nursing students and nursing instructors were studied. The research process composed of 4 stages: 1) problem and need analysis by interviewing 6 nursing instructors and 6 nursing students and, 2) reviewing concepts of authentic learning and drafting instructional model, 3) developing instructional model, and 4) examining the effects of the authentic learning instructional model in 57 nursing students. The authentic learning instructional model was used during their practice for 8 weeks. Data were collected by using the midwifery competency questionnaires and the achievement evaluation forms. The quantitative data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation and paired t-test and the qualitative data were analyzed by using content analysis.</p><p style="text-align: justify;"><strong>Main findings:</strong> There were 4 components for the authentic learning instructional model: 1) students’ learning and problem-solving skills were developed from authentic practice, 2) teacher-learner caring interactions were needed, 3) students’ academic progress was presented by document and evidence, 4) mission integration by connecting diverse authentic learning activities. Moreover, the results revealed that the students had significantly increased mean score of midwifery competency after participated in the authentic learning instructional model (t = 15.58, p < .001). All of the nursing students passed the study criteria of nursing practice evaluation.</p><p style="text-align: justify;"><strong>Conclusion and recommendations:</strong> This model can be used effectively in maternal-child and midwifery nursing to promote the students’ competency and learning achievement.</p><p style="text-align: justify;"> </p><p><strong>รูปแบบการเรียนการสอนตามสภาพจริงเพี่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการผดุงครรภ์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาล</strong></p><p style="text-align: justify;"><strong>บทคัดย่อ</strong><br /><strong></strong></p><p style="text-align: justify;"><strong>วัตถุประสงค์:</strong> เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการสอนตามสภาพจริง และ 2) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามสภาพจริงต่อสมรรถนะด้านการผดุงครรภ์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษาพยาบาล</p><p><strong>รูปแบบการวิจัย:</strong> การวิจัยเชิงพัฒนา</p><p style="text-align: justify;"><strong>วิธีดำเนินการวิจัย:</strong> กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักศึกษาและอาจารย์พยาบาล จำนวน 63 คน ขั้นตอนการวิจัยประกอบด้วย 1) การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ โดยการสัมภาษณ์อาจารย์พยาบาล 6 คนและนักศึกษา 6 คน 2) การศึกษาแนวคิดการเรียนรู้ตามสภาพจริงและยกร่างรูปแบบการเรียนการสอน 3) การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามสภาพจริง และ 4) การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามสภาพจริงในนักศึกษาพยาบาลจำนวน 57 คน ใช้เวลาในการสอน 8 สัปดาห์ต่อกลุ่ม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามสมรรถนะด้านการผดุงครรภ์และแบบประเมินผลสัมฤทธิ์การฝึกภาคปฏิบัติ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที (paired t-test) และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis)</p><p style="text-align: justify;"><strong>ผลการวิจัย:</strong> รูปแบบการเรียนการสอนตามสภาพจริงที่พัฒนาขึ้น มีหลักการที่สำคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1) การเรียนรู้และการแก้ไขปัญหาเกิดขึ้นจากการปฏิบัติ 2) ผู้สอนและผู้เรียนต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันแบบเอื้ออาทร 3) การนำเสนอพัฒนาการของผู้เรียนผ่านหลักฐาน 4) เชื่อมโยงกิจกรรมโดยบูรณาการพันธกิจอื่นกับการเรียนการสอน ผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามสภาพจริงพบว่าคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะด้านการผดุงครรภ์หลังการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 15.58, p < .001) และนักศึกษาทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์</p><p style="text-align: justify;"><strong>สรุปและข้อเสนอแนะ:</strong> รูปแบบการจัดการเรียนการสอนชี้ว่าช่วยส่งเสริมสมรรถนะด้านการผดุงครรภ์และเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จึงสามารถนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์ได้</p><p style="text-align: justify;"><strong>คำสำคัญ:</strong> การเรียนการสอนตามสภาพจริง รูปแบบการเรียนการสอน สมรรถนะด้านการผดุงครรภ์</p><p><strong><br /></strong></p>}, number={1}, journal={Nursing Science Journal of Thailand}, author={Thaewpia, Supawadee and Panmaung, Sivaporn and Khamsawarde, Nonglak and Baothong, Kanyapat and Thuntum, Kanya and Phusee, Siriporn and Puttabut, Suwimon}, year={2015}, month={Mar.}, pages={27–36} }