@article{Wongkongkam_2016, title={Innovation of Care Service System for Patients Risk with Chronic Kidney Disease: A Case Study of the Community Hospital, Nakhon Pathom Province}, volume={34}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/55168}, abstractNote={<p><strong>Purposes:</strong> To study the elements, characteristics, development and management process, outcomes and impacts of nursing innovation on increasing nursing services, reducing health risks, including conditioning factors of the nursing innovation for patients with risk of chronic kidney disease.<br /><strong></strong></p><p><strong>Design:</strong> Qualitative research design: a case study.<br /><strong></strong></p><p><strong>Methods:</strong> Research participants were four key informants, an innovative developer, health care providers and the officer. They worked and participated in the chronic disease clinic at the Community Hospital, Nakhon Pathom Province, where the nursing innovation was developed. In-depth interview, focus group discussion and documentary research were used for data collection. Qualitative data were analyzed by using the Typological analysis method. Quantitative data were presented with percentage.</p><p><strong>Main findings:</strong> Characteristic of this innovation is a process innovation. Key element is a nurse innovative developer who developed and managed this innovation by applying roles of Advanced Practice Nurse and nurse case-manager. The development, management process and the conditioning factors were the network and collaboration from all of the department and the community. The significant outcomes of clients who participated in this innovation were increasing their basic self-care skills, reducing HbA1C level, good controlling blood pressure, reducing the severity of chronic kidney disease, and decreasing the clients’ expense.</p><p><strong>Conclusion and recommendation:</strong> This nursing innovation is a good practice to promoting health behavior of clients in a one district, Nakhon Pathom province. Therefore, the prospective study is recommended to examine the long-term effect of this management which may be develop or apply to another community.</p><p> </p><p><strong>นวัตกรรมการจัดระบบการดูแลสำหรับผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคไตวายเรื้อรัง: กรณีศึกษา โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งจังหวัดนครปฐม</strong></p><p><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p><strong></strong><strong>วัตถุประสงค์:</strong> เพื่อศึกษาองค์ประกอบ คุณลักษณะ กระบวนการพัฒนา และการจัดการนวัตกรรม ผลลัพธ์และผลกระทบของนวัตกรรมกับการเพิ่มคุณภาพบริการพยาบาลและการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพของผู้รับบริการและปัจจัยเงื่อนไขของการพัฒนานวัตกรรมการจัดระบบการดูแลสำหรับผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคไตวายเรื้อรัง<br /><strong></strong></p><p><strong>รูปแบบการวิจัย:</strong> เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ: กรณีศึกษาเฉพาะในหน่วยงานแห่งหนึ่ง<br /><strong></strong></p><p><strong>วิธีดำเนินการวิจัย:</strong> ผู้ให้ข้อมูลมีจำนวน 4 คน ประกอบด้วยผู้พัฒนานวัตกรรม บุคลากรทางสุขภาพ และเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในคลินิกโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครปฐม เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม และข้อมูลจากเวชระเบียน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพแบบจำแนกชนิดของข้อมูลระดับมหภาค และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติร้อยละ </p><p><strong>ผลการวิจัย:</strong> นวัตกรรมนี้มีคุณลักษณะเป็นนวัตกรรมกระบวนการ ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ พยาบาลผู้พัฒนานวัตกรรมที่ปฏิบัติบทบาทของการเป็นพยาบาลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง และพยาบาลผู้จัดการรายกรณีได้อย่างดียิ่ง โดยมีกระบวนการพัฒนา การจัดการนวัตกรรม และปัจจัยเงื่อนไข คือ การสร้างเครือข่ายในการสร้างเสริมสุขภาพจากการได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานและทุกภาคส่วนในชุมชน ส่งผลให้ผู้รับบริการในพื้นที่มีทักษะพื้นฐานในการดูแลตนเอง สามารถลดระดับค่านํ้าตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด ควบคุมระดับความดันโลหิต ชะลอความรุนแรงและชะลอการเกิดโรคไตวายเรื้อรัง รวมทั้งสามารถลดค่าใช้จ่ายของผู้รับบริการได้อีกด้วย<br /><strong></strong></p><p><strong>สรุปและข้อเสนอแนะ:</strong> นวัตกรรมทางการพยาบาลนี้เป็นนวัตกรรมที่มีการปฏิบัติที่เป็นตัวอย่างที่ดี (good practice) ในการสร้างเสริมสุขภาพของผู้รับบริการกลุ่มเสี่ยงโรคไตวายเรื้อรังในเขตอำเภอหนึ่ง ในจังหวัดนครปฐม ดังนั้น จึงควรมีการศึกษาติดตามผลการพัฒนาในระยะยาวของวิธีการจัดการนี้ซึ่งอาจนำไปสู่การพัฒนาระบบการจัดการโรคเรื้อรังอื่นๆ หรือนำไปประยุกต์ใช้ในชุมชนอื่นๆ ได้</p><p><strong>คำสำคัญ:</strong> นวัตกรรมทางการพยาบาล โรคไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลชุมชน</p>}, number={1}, journal={Nursing Science Journal of Thailand}, author={Wongkongkam, Kessiri}, year={2016}, month={Mar.}, pages={27–41} }