@article{Rungamornrat_Musikthong_2016, title={Competency in Health Promotion of Nursing Professionals in Central Area of Thailand}, volume={34}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/55182}, abstractNote={<p align="LEFT"><strong>Purpose</strong>: To study and compare the levels of nursing competency in health promotion of nursing professionals from primary, secondary, and tertiary care settings in the central area of Thailand.</p><p align="LEFT"><strong>Design:</strong> Descriptive research design.</p><p align="LEFT"><strong>Methods:</strong> Samples comprised 4,089 professional nurses from primary, secondary, and tertiary care settings in the central area of Thailand. A self-report questionnaire (Cronbach’s alpha coefficient = .98) contained both demographic data and nursing competencies in health promotion. The latter part consisted of 32 questions with 5 different themes including personal characteristics in health promotion, nursing activities in health promotion, management in health promotion, development of health promotion, and research and knowledge management in health promotion. Collected data were analyzed by descriptive statistics whereas either Welch’s one-way ANOVA or Gomes-Howell Post-hoc analysis was utilized to identify the difference among the mean scores.</p><p align="LEFT"><strong>Main findings:</strong> The level of competency in health promotion of professional nurses in the central area of Thailand was assessed as fundamental (M = 1.55, SD = .44). “Nursing activities in health promotion” was received the highest mean score in competency (M = 1.64, SD = .49) following by “personal characteristic in health promotion (M = 1.63, SD = .49)” whereas “research and knowledge management in health promotion” was received the lowest mean score in competency (M = 1.36, SD = .47). Results also indicated that the level of competency in health promotion of professional nurses from primary, secondary, and tertiary care settings was significantly different (p < .005). Based on pair-wise comparisons, it was found that the mean score in competency of professional nurses from primary care settings is higher than those from secondary and tertiary care settings whereas the level of competency in health promotion of professional nurses from secondary and tertiary care settings is not significantly different.</p><p align="LEFT"><strong>Conclusion and recommendations:</strong> Nursing competency in health promotion should be considered essential and pertained in professional nurses in all levels of care settings in order to enhance potential of individuals, families, and communities in collaborating health care.</p><p align="LEFT"> </p><p align="LEFT"><strong>สมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาล: กรณีศึกษาพื้นที่ภาคกลาง</strong></p><p align="LEFT"><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p align="LEFT"><strong>วัตถุประสงค์: </strong>เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาล และเปรียบเทียบระดับสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาลระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิในเขตพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย</p><p align="LEFT"><strong>รูปแบบการวิจัย:</strong> การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive study)</p><p align="LEFT"><strong>วิธีดำเนินการวิจัย: </strong>กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพจากโรงพยาบาลในพื้นที่ภาคกลางทั้ง 3 ระดับ จำนวน 4,089 คน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามสมรรถนะพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพจำนวน 32 ข้อ แบ่งเป็น 5 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลในการสร้างเสริมสุขภาพ ด้านปฏิบัติกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ด้านบริหารจัดการในการสร้างเสริมสุขภาพ ด้านการพัฒนาภาคีเครือข่ายการสร้างเสริมสุขภาพ และด้านการวิจัยและการจัดการความรู้ (Cronbach’s alpha coefficient = .98) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยด้วยวิธี Welch’s one-way ANOVA หรือ Gomes-Howell Post-hoc analysis</p><p align="LEFT"><strong>ผลการวิจัย:</strong> สมรรถนะในการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาลพื้นที่ภาคกลางโดยรวมอยู่ในระดับพื้นฐาน (M = 1.55, SD = .44) ด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ การปฏิบัติกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ (M = 1.64, SD = .49) รองลงมา คือ คุณลักษณะส่วนบุคคลในการสร้างเสริมสุขภาพ (M = 1.63, SD = .47) ด้านที่ได้คะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การวิจัยและการจัดการด้วยความรู้ (M = 1.36, SD = .47) และพบว่าพยาบาลวิชาชีพระดับปฐมภมูิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิมีระดับสมรรถนะในการสร้างเสริมสุขภาพแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .005) เมื่อพิจารณารายคู่ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในระดับปฐมภูมิ มีความแตกต่างจากพยาบาลที่ปฏิบัติงานในระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ โดยพบว่าพยาบาลระดับปฐมภูมิมีคะแนนเฉลี่ยระดับสมรรถนะด้านการปฏิบัติกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพสูงกว่าพยาบาลในระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ในขณะที่ระดับสมรรถนะการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิไม่แตกต่างกัน</p><p align="LEFT"><strong>สรุปและข้อเสนอแนะ:</strong> สมรรถนะพยาบาลด้านการสร้างเสริมสุขภาพเป็นพฤติกรรมแสดงออกที่ควรมีในพยาบาลทุกระดับ เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชนในการดูแลสุขภาพร่วมกัน</p><p align="LEFT"><strong>คำสำคัญ:</strong> สมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ พยาบาลวิชาชีพ</p>}, number={1}, journal={Nursing Science Journal of Thailand}, author={Rungamornrat, Somsiri and Musikthong, Jongkonwan}, year={2016}, month={Mar.}, pages={88–100} }