@article{Thinthip_Sanasuttipun_Sangperm_2017, title={Comparisons of Needs and Response to Needs of Fathers of Premature Infants in Neonatal Intensive Care Unit as Perceived by Fathers and by Nurses}, volume={35}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/94111}, abstractNote={<p><strong>Abstract</strong></p><p><strong></strong><strong>Purpose:</strong> This study aimed to examine needs and response to needs of fathers of premature infants in Neonatal Intensive Care Unit (NICU) as perceived by fathers and by nurses.</p><p><strong>Design:</strong> Comparative descriptive study design.<br /><strong></strong></p><p><strong>Methods:</strong> The study sample comprised of fathers of premature infants in NICU and nurses working in NICU. Data were collected using the demographic data form and questionnaire of the needs and response to needs of fathers of premature infants in a neonatal intensive care unit perceived by fathers and by nurses. Data were analyzed using descriptive and t-test statistics.</p><p><strong>Main findings:</strong> The findings found that means of fathers’ needs and response to needs were statistically different (t = 2.023, p < .05). The means of fathers’ needs and response to needs as perceived by nurses were not statistically different (t = - .386, p > .05). Means of fathers’ needs perceived by fathers and by nurses were statistically different (t = 2.332, p < .05), and means of fathers’ perception of response to needs and perception by nurses were not statistically different (t = .754, p > .05).</p><p><strong>Conclusion and recommendations:</strong> Professional nurses should be aware of the overall needs of fathers of premature infants. Response to needs of those fathers should be provided, especially information, assurance of patient’s safety, psychological care, and paternal role.</p><p> </p><p><br /><strong>การศึกษาเปรียบเทียบความต้องการ และการได้รับการตอบสนอง</strong><strong>ความต้องการของบิดาทารกเกิดก่อนกำหนด ที่เข้ารับการรักษา</strong><strong>ในหออภิบาลทารกแรกเกิด ตามการรับรู้ของบิดาและrยาบาล</strong><br /><br /><strong>บทคัดย่อ</strong><br /><strong>วัตถุประสงค์:</strong> ศึกษาเปรียบเทียบความต้องการ และการได้รับการตอบสนองความต้องการของบิดาทารกเกิดก่อนกำหนด ที่เข้ารับการรักษาในหออภิบาลทารกแรกเกิด ตามการรับรู้ของบิดาและพยาบาล</p><p><strong>รูปแบบของการวิจัย:</strong> การวิจัยเชิงพรรณนาเปรียบเทียบ</p><p><strong>วิธีดำเนินการวิจัย:</strong> กลุ่มตัวอย่างเป็นบิดาของทารกเกิดก่อนกำหนดที่เข้ารับการรักษาในหออภิบาลทารกแรกเกิดและพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหออภิบาลทารกแรกเกิด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามความต้องการและการได้รับการตอบสนองความต้องการของบิดาทารกเกิดก่อนกำหนดที่เข้ารับการรักษาในหออภิบาลทารกแรกเกิด ตามการรับรู้ของบิดาและพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติ t-test</p><p><strong>ผลการวิจัย:</strong> บิดามีความต้องการและการได้รับการตอบสนองความต้องการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 2.023, p < .05) พยาบาลรับรู้ความต้องการ และรับรู้การได้รับการตอบสนองความต้องการของบิดาแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (t = - .386, p > .05) บิดาและพยาบาลรับรู้ความต้องการของบิดาแต่กต่างกันมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 2.332, p < .05) และบิดาและพยาบาลรับรู้การได้รับการตอบสนองความต้องการของบิดาแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (t = .754, p > .05)</p><p><strong>สรุปและข้อเสนอแนะ:</strong> พยาบาลควรให้การพยาบาลโดยคำนึงถึงความต้องการของบิดาให้ครอบคลุม โดยเน้นให้การตอบสนองความต้องการใน ด้านข้อมูลความมั่นใจในความปลอดภัยของบุตรด้านการดูแลจิตใจ และด้านบทบาทการเป็นบิดา</p><p><strong>คำสำคัญ:</strong> ความต้องการ การได้รับการตอบสนองความต้องการ บิดา พยาบาล ทารกเกิดก่อนกำหนด</p>}, number={2}, journal={Nursing Science Journal of Thailand}, author={Thinthip, Yosawimol and Sanasuttipun, Wanida and Sangperm, Parnnarat}, year={2017}, month={Jun.}, pages={15–27} }