TY - JOUR AU - Ponkaew, Wipawee AU - Sanasuttipun, Wanida PY - 2014/12/20 Y2 - 2024/03/29 TI - Factors Predicting Adaptive Behaviors in Siblings of Children with Cancer JF - Nursing Science Journal of Thailand JA - NURS SCI J THAIL VL - 31 IS - 2 SE - Research Papers DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/26489 SP - 71-81 AB - <p><strong>Purpose:</strong> This study aimed to examine the predictors of adaptive behaviors in sibling of children with cancer, including cancer severity, gender, birth order, social support and parental stress.</p><p><strong>Design:</strong> Correlational predictive design.</p><p><strong>Method:</strong> The study sample consisted of 92 pairs of children and their parents. These children aged 9-18 years old had siblings with cancer admitted at Maharat Nakhon Ratchasima Hospital. The subjects were selected by convenience sampling. Data were collected using 5 questionnaires asking about demographic data, perception of cancer severity, social support, parental stress, and adaptive behaviors of the siblings. Data were analyzed using descriptive statistics and multiple regression analysis.</p><p><strong>Main findings:</strong> Social support was the only factor found to be significantly correlated with siblings’ adaptive behaviors (r = .21, p &lt; .05). Research findings revealed that cancer severity (β = - .16, p = .130), gender (β = .06, p = .532), birth order (β = - .09, p = .388), social support (β = .20, p = .058) and parental stress (β = - .06, p = .536) could not predict adaptive behaviors in siblings of children with cancer.</p><p><strong>Conclusion and recommendations:</strong> Nurses should develop a nursing intervention for siblings of children with cancer. The intervention should include the provision of information, instrumental, and emotional support as well as the enhancement of siblings’ positive self-appraisal.</p><p> </p><p> </p><p><strong>ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของพี่น้องเด็กป่วยโรคมะเร็ง</strong></p><p>วิภาวี พลแก้ว, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์</p><p><br /><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p><strong></strong><strong>วัตถุประสงค์:</strong> เพื่อศึกษาปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของพี่น้องเด็กป่วยโรคมะเร็ง ได้แก่ ความรุนแรงของโรคมะเร็ง เพศ ลำดับการเกิด การสนับสนุนทางสังคม และความเครียดของบิดามารดา</p><p><strong>รูปแบบการวิจัย:</strong> ศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย</p><p><strong>วิธีดำเนินการวิจัย:</strong> กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กที่มีอายุระหว่าง 9-18 ปีที่มีพี่หรือน้องป่วยเป็นโรคมะเร็ง ซึ่งได้รับการวินิจฉัยและเข้ารับการรักษา ในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา และบิดามารดาจำนวน 92 คู่ การเลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีแบบสะดวกตามคุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามการรับรู้ความรุนแรงของโรค แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมของพี่น้องเด็กป่วย แบบสอบถามความเครียดของบิดามารดาเด็กป่วย และแบบสอบถามพฤติกรรมการปรับตัวของพี่น้องเด็กป่วย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการ<br />วิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ</p><p><strong>ผลการวิจัย:</strong> การสนับสนุนทางสังคมเป็นปัจจัยเดียวที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของพี่น้องเด็กป่วยโรคมะเร็งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .21, p &lt; .05) และพบว่า ความรุนแรงของโรคมะเร็ง (β = - .16, p = .130) เพศ (β = .06, p = .532) ลำดับการเกิด (β = - .09, p = .388) การสนับสนุนทางสังคม (β = .20, p = .058) และความเครียดของบิดามารดา (β = - .06, p = .536) ไม่สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของพี่น้องเด็กป่วยโรคมะเร็งได้</p><p><strong>สรุปและข้อเสนอแนะ:</strong> พยาบาลควรพัฒนารูปแบบกิจกรรมการพยาบาลในการดูแลพี่น้องเด็กป่วยโรคมะเร็ง โดยมุ่งเน้นการสนับสนุนช่วยเหลือด้านต่างๆ ได้แก่ การให้ข้อมูล การช่วยให้พี่น้องประเมินคุณค่าตนเองทางบวก การช่วยเหลือด้านทรัพยากร และการสนับสนุนด้านอารมณ์ เพื่อให้พี่น้องเด็กป่วยมีการปรับตัวที่ดีขึ้น</p><p><br /><strong>คำสำคัญ:</strong> พฤติกรรมการปรับตัว เด็กป่วยโรคมะเร็ง พี่น้อง การสนับสนุนทางสังคม</p> ER -