TY - JOUR AU - Klaikham, Thatsanee AU - Yusamran, Chaweewan AU - Thananowan, Nanthana AU - Phahuwatanakorn, Wanna PY - 2014/12/21 Y2 - 2024/03/29 TI - Effects of Massage and Hot Compress on Labor Pain and Pain Coping Behavior in Primigravidas JF - Nursing Science Journal of Thailand JA - NURS SCI J THAIL VL - 31 IS - 4 SE - Research Papers DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/26518 SP - 38-47 AB - <p><strong>Purpose:</strong> The present study aimed to investigate the effects of massage and hot compress on labor pain and pain coping behaviors of primigravidas in the first stage of labor.</p><p><strong>Design:</strong> Quasi–experimental design.</p><p><strong>Methods:</strong> The subjects of this study were pregnant women who were in labor at the Bangchak hospital. Seventy primigravidas were chosen according to inclusion criteria. The samples were divided into an experimental and a control group with 35 subjects in each group. The experimental group participated in the massage and hot compress protocol. The control group received usual nursing care. The research instruments were composed of a massage and hot compress protocol, patient’s interview form, visual analougue scale, and labor pain coping scale. The data were analyzed using descriptive statistics, independent t-test, and analysis of covariance.</p><p><strong>Main findings:</strong> The findings revealed that the subjects who participated in the massage and hot compress protocol in the first stage of labor had lower mean pain score than those in the control group (p &lt; .001) and had greater mean labor pain coping score than those in the control group (p &lt; .001).</p><p><strong>Conclusion and recommendations:</strong> The massage and hot compress protocol can reducing labor pain, so nurse midwives should offer massage and hot compress as a nursing intervention for primigravidas in reducing their labor pain and enhancing appropriate pain coping behavior in labor.</p><p> </p><p> </p><p><strong>ผลของการนวดร่วมกับการประคบร้อนต่อความเจ็บปวดและ</strong><strong>การเผชิญความเจ็บปวดของผู้คลอดครรภ์แรก</strong></p><p><strong></strong>ทัศนีย์ คล้ายขำ, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, นันทนา ธนาโนวรรรณ, วรรณา พาหุวัฒนกร</p><p><br /><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p><strong></strong><strong>วัตถุประสงค์:</strong> เพื่อศึกษาผลของการนวดร่วมกับการประคบร้อนต่อความเจ็บปวดและการเผชิญความเจ็บปวดของผู้คลอดครรภ์แรกในระยะที่ 1 ของการคลอด</p><p><strong>รูปแบบการวิจัย:</strong> การวิจัยกึ่งทดลอง</p><p><strong>วิธีดำเนินการวิจัย:</strong> กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้คลอดครรภ์แรกจำนวน 70 ราย ที่มาคลอดบุตรในห้องคลอด โรงพยาบาลบางจาก คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่กำหนด แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 35 รายที่ได้รับการนวดร่วมกับการประคบร้อนและการพยาบาลตามปกติ และกลุ่มควบคุม 35 รายที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบแผนการนวดร่วมกับการประคบร้อนด้วยลูกประคบข้าวสารเหนียวดำ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความเจ็บปวดด้วยสายตา แบบสังเกตพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบค่าที และสถิติการ<br />วิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม</p><p><strong>ผลการวิจัย:</strong> ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มที่ได้รับการนวดร่วมกับการประคบร้อนในระยะที่ 1 ของการคลอดมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความเจ็บปวดน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p &lt; .001) และมีค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p &lt; .001)</p><p><strong>สรุปและข้อเสนอแนะ:</strong> การนวดร่วมกับการประคบร้อนด้วยลูกประคบข้าวสารเหนียวดำสามารถ ลดการเจ็บปวดครรภ์ได้ พยาบาลผดุงครรภ์จึงสามารถนำวิธีการดังกล่าวไปใช้กับผู้คลอดครรภ์แรก ในการลดความเจ็บปวดและเผชิญกับความเจ็บปวดได้อย่างเหมาะสมในระยะคลอด</p><p><br /><strong>คำสำคัญ:</strong> การนวด การประคบร้อน ความเจ็บปวดจากการคลอด พฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวด</p> ER -