TY - JOUR AU - Wattakiecharoen, Jeuajan AU - Jantarungsri, Phaisarn AU - Wanapirun, Panita PY - 2015/03/31 Y2 - 2024/03/29 TI - The Opinions of Doctoral Students on the Use of Social Media, Cloud Computing and Mobile Applications for Education JF - Nursing Science Journal of Thailand JA - NURS SCI J THAIL VL - 33 IS - 1 SE - Research Papers DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/41987 SP - 66-76 AB - <p style="text-align: justify;"><strong>Purpose:</strong> To explore the opinions of doctoral students on the use of social media, cloud computing and mobile applications for education.</p><p><strong>Design:</strong> Descriptive research design.</p><p style="text-align: justify;"><strong>Methods:</strong> The sample was 30 doctoral students of a private university. Data were collected by questionnaire of opinion on the use of social media, cloud computing and mobile applications. Descriptive statistics were used for data analysis.</p><p style="text-align: justify;"><strong>Main findings:</strong> The doctoral students’ opinion scores on the use of social media, cloud computing and mobile applications for education were at high and highest levels with the mean scores on use of social media (X = 4.27, SD = .63), cloud computing (X = 4.19, SD = .57), and mobile applications (X = 4.40, SD = .61) for education respectively.</p><p style="text-align: justify;"><strong>Conclusion and recommendations:</strong> The class for doctoral students can use social media, cloud computing and mobile applications. The doctoral classroom should be held by using social media, cloud computing and mobile applications coupled with the regular classroom.</p><p style="text-align: justify;"> </p><p><strong>ความคิดเห็นต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ คลาวด์คอมพิวติงและโมบายแอพพิเคชัน เพื่อการศึกษาของนักศึกษาปริญญาเอก</strong></p><p style="text-align: justify;"><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p style="text-align: justify;"><strong>วัตถุประสงค์:</strong> เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ คลาวด์คอมพิวติง และโมบายแอพพิเคชันเพื่อการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษาปริญญาเอก</p><p><strong>รูปแบบการวิจัย:</strong> การวิจัยเชิงพรรณนา</p><p style="text-align: justify;"><strong>วิธีดำเนินการวิจัย:</strong> กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาปริญญาเอก มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งจำนวน 30 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ <span>คลาวด์คอมพิวติง และโมบาย</span>แอพพิเคชันเพื่อการศึกษาของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 29 ข้อคำถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา</p><p style="text-align: justify;"><strong>ผลการวิจัย:</strong> นักศึกษาปริญญาเอกมีความเห็นต่อการใช้<span>สื่อสังคมออนไลน์ </span><span>คลาวด์คอมพิวติง และโมบาย</span><span>แอพพิเคชันเพื่อการศึกษาอยู่ในระดับมากและมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์</span> ์ (X = 4.27, SD = .63) คลาวด์คอมพิวติง (X = 4.19, SD = .57) และโมบายแอพพิเคชัน (X = 44. 0, SD = .61) เพื่อการศึกษาตามลำดับ</p><p style="text-align: justify;"><strong>สรุปและข้อเสนอแนะ:</strong> การจัดการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก สามารถใช้สื่อสังคมออนไลน์ คลาวด์คอมพิวติง <span>และโมบาย</span><span>แอพพิเคชัน ควบคู่กับการเรียนในชั้นเรียนปกตได้ ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาเอก ควรนำสื่อสังคม</span>ออนไลน์ คลาวด์คอมพิวติง และโมบายแอพพิเคชัน มาใช้ร่วมกันในการจัดการเรียนการสอน</p><p style="text-align: justify;"><strong>คำสำคัญ:</strong> สื่อสังคมออนไลน์ คลาวด์คอมพิวติง โมบายแอพพิเคชัน</p> ER -