TY - JOUR AU - Wattananon, Yuwadee AU - Purksametanun, Tassaneewan AU - Ngueychareon, Gunyaluck AU - Wannasathid, Vachira AU - Jittima, Vassana AU - Hungsawanus, Puttiraporn PY - 2016/09/29 Y2 - 2024/03/28 TI - Learning Outcomes of Clinical Teaching Based on D. Cecco Concept: Normal Labour JF - Nursing Science Journal of Thailand JA - NURS SCI J THAIL VL - 34 IS - 3 SE - Research Papers DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/77538 SP - 19-29 AB - <p><strong>Abstract</strong><br /><strong></strong></p><p><strong>Purpose:</strong> To examine learning outcomes of clinical teaching of normal labour according to D. Cecco concept.</p><p><strong>Design:</strong> Classroom action research.<br /><strong>Methods:</strong> Sample consisted of 269 4th year baccalaureate nursing students who passed two courses: maternal – newborn nursing and midwifery practicum 1 and maternal – newborn nursing and midwifery 2; and currently taking newborn nursing and midwifery practicum 2. Data were collected during practice in learning resource center and delivery room in studied hospitals.</p><p><strong>Main findings:</strong> Of all students, 79.44% in first semester and 77.48% in second semester satisfy with methods of teaching, instructor’s capability and feedback at the highest level. All of them could pass clinical test in learning resource center and 99.63% passed in labour and delivery room.<br />Conclusion and recommendations: Nursing students should be instructed process of delivery in learning resource center and be evaluated their performance before practice in real situation.</p><p><br /><br /><strong>ผลการเรียนรู้จากการใช้รูปแบบการสอนภาคปฏิบัติตามแนวคิดของ </strong><strong>ดี เชคโค: การทำคลอดปกติ</strong><br /><br /><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p><strong></strong><strong>วัตถุประสงค์:</strong> เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้จากการูปแบบการสอนภาคปฏิบัติการทำคลอดปกติตามแนวคิดของ ดี เชคโค<br /><strong></strong></p><p><strong>รูปแบบการวิจัย:</strong> วิธีการวิจัย เป็นแบบ Classroom Action Research</p><p><strong>วิธีดำเนินการวิจัย:</strong> ประชากร คือ นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 4 จำนวน 269 คน ที่ผ่านการเรียนวิชาปฏิบัติการพยาบาลมารดา-ทารกและการผดุงครรภ์ 1 และวิชาการพยาบาลมารดา-ทารกและการผดุงครรภ์ 2 แล้ว และกำลังเรียนวิชาปฏิบัติการพยาบาลมารดา-ทารกและการผดุงครรภ์ 2 เก็บรวบรวมข้อมูลขณะสอนทำคลอดในห้องฝึกปฏิบัติการพยาบาล และหน่วยห้องคลอดในโรงพยาบาลที่ทำการศึกษา</p><p><strong>ผลการวิจัย:</strong> นักศึกษามีความพึงพอใจต่อวิธีการสอนที่อาจารย์นำมาใช้โดยภาพรวมในระดับมากที่สุดทั้งภาคการศึกษาต้นและภาคการศึกษาปลาย คิดเป็นร้อยละ 79.44 และ 77.48 ตามลำดับ ความพึงพอใจต่อความสามารถของอาจารย์ผู้สอนโดยภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด ทั้งภาคการศึกษาต้น และภาคการศึกษาปลาย คิดเป็นร้อยละ 79.44 และ 76.58 ตามลำดับ ในส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง พบวา่ สอบผ่านเกณฑ์ของการสอบทำคลอด<br />ที่ฝึกในห้องฝึกปฏิบัติการพยาบาล และการทำคลอดที่ฝึกในห้องคลอด เท่ากับร้อยละ 100.0 และ 99.63 ตามลำดับ</p><p><strong>สรุปและข้อเสนอแนะ:</strong> ก่อนให้นักศึกษาฝึกทำคลอดในผู้คลอดจริง อาจารย์ควรมีการสอนให้ฝึกทักษะย่อยในห้องฝึกปฏิบัติการพยาบาล แล้วจึงประเมินผลการฝึกทำคลอดของนักศึกษาก่อนการฝึกในสถานการณ์จริง</p><p><strong>คำสำคัญ:</strong> ผลการเรียนรู้ แนวคิดของ ดี เชคโค การทำคลอดปกติ</p> ER -