TY - JOUR AU - วามะขันธ์, พิทยา AU - วงศ์ภิรมย์, ฤชุอร AU - ปัญญาคมจันทพูน, พฤศจิกาพรน์ PY - 2021/01/20 Y2 - 2024/03/28 TI - การศึกษาผลการรับรู้ข้อมูลข่าวสารโรคความดันโลหิตสูง พฤติกรรมการป้องกันควบคุมโรค และภาพลักษณ์ ของกรมควบคุมโรคของประชาชนในพื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี JF - วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี JA - JODPC10 VL - 18 IS - 2 SE - นิพนธ์ต้นฉบับ DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/odpc10ubon/article/view/249983 SP - 19-33 AB - <p>การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการรับรู้ข้อมูลข่าวสารโรคความดันโลหิตสูง พฤติกรรมการป้องกันควบคุมโรค และภาพลักษณ์ของกรมควบคุมโรค ในพื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี&nbsp; กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จำนวนทั้งสิ้น 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รับรู้ข้อมูลข่าวสาร ร้อยละ 99.5 การรับรู้อยู่ในระดับมาก (&nbsp;= 4.18, SD = 1.07) &nbsp;มีการเข้าถึงแหล่งข้อมูลของการรับรู้ข่าวสาร ร้อยละ 100.0 โดยแหล่งการรับรู้ข้อมูล มากที่สุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บุคลากรสาธารณสุข และ ครู อาจารย์ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ปราชญ์ชาวบ้าน การเข้าถึงร้อยละ 100.0, &nbsp;99.2 และร้อยละ 97.7 ตามลำดับ &nbsp;ความพึงพอใจภาพรวมต่อข้อมูลข่าวสารอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก (&nbsp;= 3.26, SD = 0.49)&nbsp; ร้อยละ 98.5 &nbsp;ระดับความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง คะแนนเฉลี่ยความรู้อยู่ในระดับมาก&nbsp; มีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อการป้องกันโรคระดับมาก (&nbsp;= 35.91, SD = 5.76) &nbsp;และภาพลักษณ์เชิงบวกของกรมควบคุมโรคในมุมมองของประชาชนมีมุมมองในระดับมาก (&nbsp;= 47.24, SD = 3.84) &nbsp;ร้อยละ 97.5 <strong>&nbsp;</strong></p><p>การสื่อสารให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและพฤติกรรมการป้องกันโรคที่เหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้นการใช้สื่อบุคคล เช่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บุคลากรสาธารณสุข ที่มีศักยภาพเป็นผู้สื่อสารความเสี่ยง &nbsp;โดยการกำหนดคำสำคัญให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย จะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันตนเองของประชาชนได้ดียิ่งขึ้น</p> ER -