TY - JOUR AU - Tawanwongsri, Weeratian AU - Phenwan, Tharin PY - 2018/06/21 Y2 - 2024/03/29 TI - Challenges in Problem-Based Learning and Suggested Solutions at the School of Medicine, Walailak University: A Mixed-Methods Study JF - Ramathibodi Medical Journal JA - Rama Med J VL - 41 IS - 2 SE - Original Articles DO - 10.14456/rmj.2018.11 UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/100506 SP - 1-8 AB - <p style="text-align: justify;"><strong>Background: </strong>Problem-based learning (PBL) was used in basic and clinical sciences learning in an integrated approach. Despite its implementation into medical curricula around the world over four decades ago, group dynamic issues in PBL are still abundant. To date, there is no publication addressing the difficulties in PBL for Thai medical students.</p><p style="text-align: justify;"><strong>Objective:</strong> To explore difficulties in PBL and suggest solutions at the School of Medicine, Walailak University.</p><p style="text-align: justify;"><strong>Methods: </strong>A sequential explanatory mixed method was employed using the triangulation method to get the information from students, facilitators, and a medical curriculum expert. Anonymous online survey data from students emphasised barriers to PBL and respondents’ suggestions. Content analysis was performed on written feedback from facilitators. Finally, a researcher performed a semi-structured interview with a medical curriculum expert. Data were collected throughout the academic year 2016.</p><p style="text-align: justify;"><strong>Results: </strong>A total of 83 (86.5%) medical students responded to the survey, 58 students (69.9%) reported no difficulties in their learning process; 25 students (30.1%) disclosed challenges in learning. Facilitators’ feedback was collected from a total of 23 PBL sessions. Factors affecting the PBL process included facilitators’ characteristics, course organisation, and learning environment. Favourable characteristics for facilitators included thinking process support (28.7%), appropriate and constructive feedback (27.9%), listening skills (24.3%), safe environment (14.0%), and being concise (5.1%).</p><p style="text-align: justify;"><strong>Conclusions:</strong> Three major factors contributing to PBL difficulties among Thai medical students were facilitator’s quality, course organisation, and learning environment. Hence these factors should be optimized to allow students to achieve the best learning process and outcome.</p><p>&nbsp;</p><p><strong>ปัญหาที่พบบ่อยในกระบวนการเรียนรู้</strong><strong>โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและแนวทางการแก้ไขปัญหา&nbsp;</strong><strong>สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์</strong><strong>: การวิจัยแบบผสม</strong></p><p style="text-align: justify;"><strong>บทนำ</strong><strong>:</strong> การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning, PBL) ได้รับความนิยมผนวกเข้ากับการจัดการเรียนการสอนเพื่อบูรณาการความรู้วิทยาศาสตร์พื้นฐานและวิทยาศาสตร์ทางคลินิก แม้ว่าโรงเรียนแพทย์หลายแห่งบรรจุการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในหลักสูตรแล้ว แต่ยังไม่มีผลการวิจัยที่กล่าวถึงปัญหาการเรียนในมุมองของนักศึกษาแพทย์ไทย</p><p style="text-align: justify;"><strong>วัตถุประสงค์</strong><strong>:</strong> เพื่อระบุปัญหาการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน พร้อมแนวทางการแก้ไข ณ สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์</p><p style="text-align: justify;"><strong>วิธีการศึกษา</strong><strong>:</strong> การวิจัยแบบผสมประเภทการออกแบบต่อเนื่องเชิงอธิบาย &nbsp;(Sequential explanatory mixed-method) ตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูล (Data triangulation) โดยรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามออนไลน์แบบไม่ระบุตัวตนจากนักศึกษาแพทย์&nbsp; ชั้นปีที่ 3 และปีที่ 4 ข้อมูลป้อนกลับจากวิทยากรกระบวนการ และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร โดยเก็บข้อมูลตลอดปีการศึกษา 2559 ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์</p><p style="text-align: justify;"><strong>ผลการศึกษา</strong><strong>:</strong> นักศึกษาแพทย์ที่ตอบแบบสอบถาม จำนวน 83 คน คิดเป็นร้อยละ 86.5 พบว่า ร้อยละ 69.9 ไม่มีปัญหาการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และมีเพียงร้อยละ 30.1 ระบุปัญหาการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน จากการรวบรวมข้อมูลป้อนกลับของวิทยากรกระบวนการจำนวน 23 ครั้ง พบปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ได้แก่ ลักษณะของวิทยากรกระบวนการ การจัดการเรียนการสอน และสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ โดยลักษณะของวิทยากรกระบวนการพึงประสงค์ ได้แก่ สนับสนุนกระบวนการคิด ให้ข้อมูลป้อนกลับที่เหมาะสม มีทักษะการฟังที่ดี สร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย และกระชับเนื้อหา</p><p style="text-align: justify;"><strong>สรุป</strong><strong>:</strong> ปัจจัย 3 ประการสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ได้แก่ คุณภาพของวิทยากรกระบวนการ การจัดการเรียนการสอน และสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ ดังนั้น การปรับปัจจัยดังกล่าวอาจทำให้การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานช่วยส่งเสริมผลการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น</p><p>&nbsp;</p> ER -