A preliminary survey of Acanthamoeba spp. contamination in contact lens storages from health science students of Rangsit University, Thailand

Authors

  • Chalermpon Kaewjai
  • Sirima Kitvatanachai
  • Siriporn Kowaboot

Keywords:

Acanthamoeba spp., Contact lens, Keratitis, Risk factor, Hygiene habit, อะแคนทามีบา, คอนแทคเลนส์, กระจกตาอักเสบ, ปัจจัยเสี่ยง, พฤติกรรมรักษาความสะอาด

Abstract

Introduction: This study aimed to evaluate the contamination of Acanthamoeba spp. in contact lens storage cases and to study the hygiene habits among contact lens users in health science faculties at Rangsit University.

Method: The cross sectional study was conducted and samples were collected between April and October, 2013. Acanthamoeba spp. contamination was determined using culture method in non-nutrient agar (NNA), which was coated with non-active Escherichia coli. A total of 116 questionnaires and 102 contact lens storage cases were submitted.

Result: The results were no contaminants Acanthamoeba spp. for all contact lens storage of participant students. However, the questionnaires have revealed poor hygiene behavior where almost all students had not taken care of their lens correctly. Fifty percent of contact lens users lack of an eye check-up before wearing contact lens and improper wash hands before touch contact lens, 44.8% absence to see a doctor when experiencing eye problems, 40.5% wore contact lens while swimming and lens storages unchanged every
1-2 months.

Discussion and Conclusion: The poor hygiene behavior might be risk factors contributing to the cause of Acanthamoeba keratitis and  still found in the surrounding environment. This necessity to be aware of using contact lens in which to reduce the risk factor of infection.

Key words: Acanthamoeba spp., Contact lens, Keratitis, Risk factor, Hygiene habit

การสำรวจเบื้องต้นของการปนเปื้อนของเชื้ออะแคนทามีบาในตลับคอนแทคเลนส์ของนักศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต
เฉลิมพล แก้วใจ, สิริมา กิจวัฒนชัย, ศิริพร โควบุตร
คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยรังสิต จังหวัดปทุมธานี

บทคัดย่อ

บทนำ: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการปนเปื้อนเชื้ออะแคนทามีบาในตลับคอนแทคเลนส์ และศึกษาพฤติกรรมการใช้การดูแลรักษาคอนแทคเลนส์ของนักศึกษากลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต

วิธีการศึกษา: สำรวจเก็บตัวอย่างแบบภาคตัดขวางจากผู้เข้าร่วมโครงการ ระหว่างเดือนเมษายน - ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ แล้วทำการตรวจเชื้ออะแคนทามีบาในตลับคอนแทคเลนส์ ด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงในวุ้นที่ไม่มีสารอาหาร ที่เคลือบด้วยเชื้อแบคทีเรีย เอชเชอริเชีย โคไล ที่ไม่มีชีวิต โดยมีผู้ตอบแบบสอบถาม ๑๑๖ คน และส่งตลับคอนแทคเลนส์ ๑๐๒ คน

ผลการศึกษา: ผลการศึกษาไม่พบเชื้อในตลับคอนแทคเลนส์ที่ส่งตรวจทั้งหมด อย่างไรก็ตามจากแบบสอบถามพบว่านักศึกษายังมีพฤติกรรมการใช้และดูแลคอนแทคเลนส์ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ ร้อยละ ๕๐ ไม่ได้รับการตรวจตาจากจักษุแพทย์ก่อนใช้คอนแทคเลนส์ และสัมผัสคอนแทคเลนส์โดยไม่ล้างมือฟอกสบู่ เมื่อมีความผิดปรกติเกี่ยวกับตาไม่พบแพทย์ ร้อยละ ๔๔.๘ ใส่คอนแทคเลนส์ขณะว่ายนำ และไม่เปลี่ยนตลับแช่คอนแทคเลนส์ทุก ๑ - ๒ เดือน ร้อยละ ๔๐.๕ เป็นต้น

วิจารณ์ และสรุปผลการศึกษา: ปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้เป็นสาเหตุของโรคกระจกตาอักเสบจากเชื้ออะแคนทามีบา ซึ่งเชื้อนี้ยังพบมากในสิ่งแวดล้อมจึงเสนอแนะให้ผู้ที่ใช้คอนแทคเลนส์มีพฤติกรรมการใช้ที่ถูกต้องเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อได้

คำสำคัญ: อะแคนทามีบา, คอนแทคเลนส์, กระจกตาอักเสบ, ปัจจัยเสี่ยง, พฤติกรรมรักษาความสะอาด

Author Biographies

Chalermpon Kaewjai

Faculty of Medical Technology, Rangsit University, Pathumthani

Sirima Kitvatanachai

Faculty of Medical Technology, Rangsit University, Pathumthani

Siriporn Kowaboot

Faculty of Medical Technology, Rangsit University, Pathumthani

Downloads

Published

2015-06-30

Issue

Section

Original Articles