Immediate effect of thoracic self-mobilization in prolonged sitting workers with mechanical neck pain

Authors

  • Siriluck Kanchanomai Department of Physical Therapy, Faculty of Allied Health Sciences, Thammasat University
  • Santhanee Khruakhorn Department of Physical Therapy, Faculty of Allied Health Sciences, Thammasat University

Keywords:

ผลทันที, การเคลื่อนไหวกระดูกส่วนอกด้วยตนเอง, ผู้ที่นั่งทำงานในท่านั่ง, ปวดคอ

Abstract

Introduction: Work-related neck pain is a musculoskeletal problem in sitting work posture especially in academic staff. Restoration of thoracic spine curvature to normal alignment by mobilization may potentially decrease cervical spine compression force and mechanical stresses. Appropriate distribution of joint compression may less induce neck and upper back muscles work, consequently, neck pain reduction. The purpose of the study was to compare immediate effect of thoracic self-mobilization in mechanical neck pain.

Method: 58 academic staffs with mechanical neck pain, aged 25 - 45 were participated and randomly allocated into 2 groups. Both group received education about posture and general neck stretching. In addition, experimental group received self-thoracic mobilization. Pain intensity (Visual analog scale), resting craniovertebral angle and pain pressure threshold at upper trapezius were measured before and after immediately intervention.

Result: Resting craniovertebral angle was significant increase in experimental group (p < 0.05) post-intervention. There was significant difference in pain level in experimental (p < 0.05) and control group (p < 0.001) post-intervention. However, there was no significant difference between groups in resting craniovertebral angle, pain level and pain pressure threshold.

Discussion and Conclusion: Self-thoracic mobilization might immediately affect pain level and resting craniovertebral angle similar to neck muscle stretching combined with education about posture correction in mechanical neck pain.

บทนำ: อาการปวดคอจากการทำงานพบได้บ่อยในผู้ที่ทำงานนั่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาจารย์ในมหาวิทยาลัย การดัดดึงกระดูกสันหลังระดับหลังส่วนบนให้กลับสู่แนวโค้งปรกติมีผลทำให้ลดแรงกดและแรงเครียดของข้อต่อกระดูกสันหลังระดับคอได้ การกระจายของแรงเครียดที่เหมาะสมทำให้กล้ามเนื้อบริเวณคอและหลังส่วนบนทำงานน้อยลงมีผลต่อการลดอาการปวดคอลดลง การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลทันทีของการทำดัดดึงกระดูกสันหลังส่วนอกด้วยตนเองในผู้ป่วยที่มีอาการปวดคอ


วิธีการศึกษา: อาจารย์ในมหาวิทยาลัยที่มีอาการปวดคอ ช่วงอายุ ๒๕ - ๔๕ ปี จำนวน ๕๘ คน เข้าร่วมการวิจัยและถูกสุ่มเป็น ๒ กลุ่ม ทั้ง ๒ กลุ่มได้รับการให้คำแนะนำการปรับเปลี่ยนท่าทางร่วมกับการยึดกล้ามเนื้อคอ นอกจากนี้กลุ่มทดลองได้รับการดัดดึงกระดูกสันหลังส่วนอกด้วยตนเองเพิ่ม


ผลการศึกษา: ค่าเฉลี่ยของมุมกระดูกสันหลังระดับคอขณะอยู่นิ่ง ก่อนและหลังการรักษาของกลุ่มดัดดึงกระดูกสันหลังด้วยตนเอง มีค่าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < ๐.๐๕) และค่าระดับความเจ็บปวดก่อนและหลังของทั้งสองกลุ่มมีค่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < ๐.๐๕ และ p < ๐.๐๐๑ ตามลำดับ) แต่ไม่พบความแตกต่างกันของค่ามุมกระดูกสันหลังระดับคอขณะอยู่นิ่ง ระดับความเจ็บปวด และระดับกั้นความรู้สึกเจ็บของกล้ามเนื้อบ่าหลังการรักษาระหว่างกลุ่ม


วิจารณ์ และสรุปผลการศึกษา: การดัดดึงกระดูกสันหลังด้วยตนเองมีแนวโน้มลดระดับอาการเจ็บและเพิ่มมุมกระดูกสันหลังระดับคอขณะการดัดดึงกระดูกสันหลังด้วยตนเองมีแนวโน้มลดระดับอาการเจ็บและเพิ่มมุมกระดูกสันหลังระดับคอขณะ

Downloads

Published

2016-06-30

Issue

Section

Original Articles