Development of learning management of nurse students by using participatory process to promote health behaviors of primary school students
Keywords:
Appreciation Influence Control (AIC), Health behavior, Nursing student, กระบวนการมีส่วนร่วมเอไอซี, พฤติกรรมสุขภาพ, สุขบัญญัติแห่งชาติ, นักศึกษาพยาบาลAbstract
Introduction: The use of participatory process could increase health knowledge and promote health behaviors in individuals. Objective of this study was to develop and study the effectiveness of learning management using participatory process aiming to promote health behaviors according to National Health Commandments in students.
Method: The research was divided into three phases: the first phase was to synthesize the draft prototype of learning management, the second phase was to develop the prototype and the third phase was to test the effectiveness of the prototype. The samples consisted of 62 junior nursing students and 251 grade 6 students. Samples were selected using purposive sampling method. The questionnaire was used for data collection. Data were analyzed using descriptive statistics, dependent t-test and Repeated Measures ANOVA.
Result: The model of learning management was developed by including training workshop on participatory process with Appreciation Influence Control (AIC) technique, learning about facilitator, the role of students and practicing in school. After obtaining the model of learning management, nursing students had higher score of knowledge, opinion and practice relating to learning management and primary school students had higher score of health behaviors than before obtaining the model (p < 0.05).
Discussion and Conclusion: The use of learning management by applying participatory process could promote health behaviors in students.
บทนำ: การใช้กระบวนการมีส่วนร่วมทำให้นักศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพให้ผู้รับบริการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพได้ด้วยตนเอง การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และศึกษาประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน
วิธีการศึกษา: การวิจัยและพัฒนา แบ่งเป็น ๓ ระยะ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ จำนวน ๖๒ คน และนักเรียนนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๒๕๑ คน โดยการสมุ่ แบบเจาะจงประมวลข้อมูลจากแบบสอบถาม แบบบันทึกการปฏิบัติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที และค่า Repeated Measures ANOVA
ผลการศึกษา: แนวทางการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษา ประกอบด้วยการอบรมเชิงปฏิบัติการความรู้กระบวนการมีส่วนร่วมด้วยเทคนิคเอไอซี บทบาทนักศึกษา บทบาทนักเรียน และการปฏิบัติ กลุ่มตัวอย่างนักศึกษามีค่าเฉลี่ยความรู้ความคิดเห็น และการปฏิบัติตามการจัดการเรียนรู้ หลังการปฏิบัติงานสูงกว่าก่อนการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างนักเรียนมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมสุขภาพหลังการปฏิบัติงานสูงกว่าก่อนการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕
วิจารณ์ และสรุปผลการศึกษา: การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของนักศึกษา สามารถสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน