Department of Radiology, Faculty of Medicine, Thammasat University
Keywords:
Biliary tract obstruction, Imaging of biliary tract, Abdominal CT, MR imagings, ภาวะอุดกั้นท่อทางเดินน้ำดี, ภาพรังสีวิทยาท่อทางเดินน้ำดี, เอกซเรย์คอมพิวเตอร์และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเอ็มอาร์ไอ ส่วนช่องท้องAbstract
Imaging of the biliary disease often requires multimodality imaging approach. Biliary imaging in the setting of obstructive jaundice provides the details of the level of obstruction, its severity and cause. The objective of this review was to learn to approach the accurate interpretation of the biliary tract obstruction with diagnostic multimodalities. The ultrasonography is initial imaging with suspected biliary tract disease. The multidetector computed tomography (MDCT), magnetic resonance imaging (MRI) and MR cholangiopancreatography (MRCP) are commonly used to evaluate the pathologies of biliary tract obstruction. This review focused primarily on the imaging features of common pathologies including benign and malignant diseases such as choledocholithiasis, pancreatic head cancer, and cholangiocarcinoma. The pearl and pitfalls of ultrasound, CT, MRI, and MRCP aspects o f biliary imaging were discussed.
ภาพรังสีวิทยาภาวะอุดกั้นท่อทางเดินน้ำดี
การวินิจฉัยภาวะอุดกั้นท่อทางเดินน้ำดีอาศัยเครื่องมือการตรวจทางรังสีวิทยาหลายชนิดด้วยกันในปัจจุบัน ซึ่งมีบทบาทช่วยในการบอกตำแหน่งของบริเวณที่มีการอุดกั้น บอกความรุนแรง และสาเหตุของการอุดกั้นได้ โดยอัลตร้าซาวด์ ถือเป็นเครื่องมือเบื้องต้นที่ใช้ในการวินิจฉัยภาวะอุดกั้นทางเดินน้ำดี ปัจจุบันการตรวจโดยวิธีอื่นๆ อันได้แก่ เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ และคลี่นแม่เหล็กไฟฟ้าเอ็มอาร์ไอส่วนช่องท้องเป็นเครื่องมือทางรังสีที่มีการใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้น สามารถช่วยลดขั้นตอนการตรวจโดยวิธีการส่องกล้องร่วมกับฉีดสารทึบรังสีเข้าไปในท่อน้ำดี ซึ่งเป็นการตรวจที่ลุกล้ำ บทความฉบับนี้มุ่งเน้นให้ความรู้ในเรื่องของภาพทางรังสีวิทยาโดยใช้เครื่องมือตรวจแต่ละชนิด ที่จะช่วยในการวินิจฉัยโรคในผู้ป่วยที่มีภาวะอุดกั้นท่อทางเดินน้ำดีได้ถูกต้องแม่นยำ อันได้แก่ โรคต่างๆ ที่พบได้บ่อยดังต่อไปนี้ นิ่วในท่อทางเดินน้ำดี มะเร็งตับอ่อน และมะเร็งท่อน้ำดี เป็นต้น นอกจากนี้ในส่วนท้ายของบทความได้สรุปเนื้อหาและข้อผิดพลาดที่พบได้บ่อยในการแปลผลภาพทางรังสีในภาวะอุดกั้นของท่อทางเดินน้ำดี