@article{ปัญเศษ_กลิ่นถือศิล_กิ่งแก้ว_วงศ์มณีโรจน์_2015, title={ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดของบุคลากรที่ปฏิบัติราชการส่วนกลาง กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด Rama – EGAT Heart Score}, volume={25}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tnaph/article/view/39500}, abstractNote={<p class="BasicParagraph" align="center"><strong><span lang="TH">บทคัดย่อ</span></strong></p><p class="BasicParagraph"><span>      <span lang="TH">การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดของบุคลากรที่ปฏิบัติราชการส่วนกลาง กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด</span> Rama – EGAT Heart Score <span lang="TH">ซึ่งพัฒนาโดยคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียนของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในส่วนกลางของกระทรวงสาธารณสุขที่มารับการตรวจสุขภาพประจำปีย้อนหลัง จากรายงานผลการตรวจสุขภาพประจำปี พ</span>.<span lang="TH">ศ</span>. 2556  <span lang="TH">ตั้งแต่เดือนมีนาคม</span> – <span lang="TH">พฤษภาคม</span>  2556 <span lang="TH">จำนวน</span> 950 <span lang="TH">ราย ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างแบบสองกลุ่มอิสระ โดยใช้การทดสอบค่าที และทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดยใช้การทดสอบไคสแควร์ และกำหนดค่าระดับนัยสำคัญทางสถิติที่</span> 0.05 </span></p><p class="BasicParagraph"><span lang="TH">      ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดอยู่ในระดับน้อย ปานกลาง และสูง คิดเป็นร้อยละ</span><span> 68.9, 27.7 <span lang="TH">และ</span> 3.4 <span lang="TH">ตามลำดับ ค่าเฉลี่ยคะแนนความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดของกลุ่มตัวอย่างโดยรวมอยู่ในระดับน้อย</span> (mean 4.5, SD 4.0) <span lang="TH">โอกาสเกิดเส้นเลือดหัวใจตีบรุนแรงในเวลา</span> 10 <span lang="TH">ปีเฉลี่ยร้อยละ</span> 1.5 (SD 1.6) <span lang="TH">เพศชายมีคะแนนความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเฉลี่ยสูงกว่าเพศหญิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ</span> 0.05 <span lang="TH">ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดขึ้นอยู่กับสถานภาพด้านเพศ และลักษณะงาน โดยพบว่าผู้ที่มีความเสี่ยงสูงส่วนมากมีลักษณะงานเป็นงานวิชาการ และงานธุรการ</span></span></p><p class="BasicParagraph"><span>      <span lang="TH">ผลจากการวิจัยครั้งนี้ทำให้ได้ข้อมูลที่สำคัญสำหรับบุคลากรที่ปฏิบัติงานในส่วนกลางของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้เกิดความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด</span></span></p><p class="BasicParagraph"> </p><p class="BasicParagraph" align="center"><strong><span>Cardiovascular Risk  among Staffs Working at  The  Central of  Ministry  of  Public Health  Using  Risk  Assessment of Rama - EGAT Heart  Score</span></strong></p><p class="BasicParagraph" align="right"><em><span>Ketchada  Punset*, Sukanda  Klinthuesin*</span></em></p><p class="BasicParagraph" align="right"><em><span>Apasinee  Kingkaew*, Wiyada  Wongmaneeroj*</span></em></p><p class="BasicParagraph" align="center"><strong><span>Abstract</span></strong></p><p class="BasicParagraph"><span>           The purpose of this retrospective descriptive research was to assess cardiovascular risk among staffs working at the central of the Ministry of Public Health. The Faculty of medicine, Ramathibodi Hospital has developed Rama – EGAT Heart Score which was used as a tool in the present study for the total CVD risk calculation for predicting a person’s chance of having severe coronary heart diseases within the next ten years.  The sample consists of 950 subjects from their medical history reports, of the mentioned groups who had a regular check-up at the Ministry of Public Health clinic, Rajavithi Hospital, between March and May 2013.  Data were analyzed by descriptive statistics, independent samples t-test, and chi – square test/ fisher exact test.</span></p><p class="BasicParagraph"><span>      The results of the study indicated that 68.9, 27.7 and 3.4 percent of participants had cardiovascular risk score at low, moderate and high level respectively. The total mean score of cardiovascular risk was at low level (mean 4.5, SD 4.0), chance of having severe coronary heart diseases within the next ten years average 1.5 percent (SD 1.6). The cardiovascular risk mean score of male was significantly higher than those in female (p < 0.05). Cardiovascular risk level was significantly different between gender (p < 0.05). There were significant difference (p < 0.05) of cardiovascular risk level among personnel with differences job types, most of high cardiovascular risk level were observer in academic and a service officers</span></p><p class="BasicParagraph"><span>         The findings from the present study will be used to plan behavioral health development for staffs working at the central of the Ministry of Public Health.students for antenatal care.</span></p><p class="BasicParagraph"><strong><span> </span></strong></p><p class="BasicParagraph"><strong><span>Keyword : </span></strong><span>Cardiovascular Risk, Rama – EGAT Heart Score, Ministry of Public Health</span></p><p class="BasicParagraph"><span>* The Ministry of Public Health clinic, Rajavithi hospital, Department of Medical Services</span></p>}, number={2}, journal={Nursing Journal of The Ministry of Public Health}, author={ปัญเศษ เกษชดา and กลิ่นถือศิล สุกาญฎา and กิ่งแก้ว อาภาสิณี and วงศ์มณีโรจน์ วิยดา}, year={2015}, month={Aug.}, pages={57–70} }