@article{เสริมศักดิ์_2015, title={ความชุกและปัจจัยเสี่ยงภาวะเมตาบอลิกซินโดรมของพนักงานโรงงานที่เข้ากะ ในโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกในจังหวัดนครราชสีมา}, volume={25}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tnaph/article/view/39521}, abstractNote={<p class="BasicParagraph" align="center"><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p class="BasicParagraph">        <strong>         </strong>การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความชุกและปัจจัยเสี่ยงภาวะเมตาบอลิกซินโดรมของพนักงานที่เข้ากะในโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกในจังหวัดนครราชสีมาเป็นการศึกษาข้อมูลย้อนหลังแบบภาคตัดขวางประชากร คือพนักงานเข้ากะทั้งหมดในโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกจังหวัดนครราชสีมาในปี 2557 จำนวน 650 คน กลุ่มตัวอย่าง คือพนักงานเข้ากะทั้งหมดในโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกจังหวัดนครราชสีมา ในปี 2557 ที่มารับการตรวจสุขภาพประจำปี 2557 จำนวน 512 คนเครื่องมือที่ใช้คือแบบเก็บข้อมูลของพนักงานที่มารับบริการการตรวจสุขภาพประจำปี 2557 และตรงตามเกณฑ์ดัดแปลงภาวะเมตาบอลิกซินโดรม (NCEP ATPIII) ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ด้วยสถิติ ความถี่ ร้อยละ และ logistic regression</p><p class="BasicParagraph">          ผลการศึกษาพบว่า ความชุกของภาวะเมตาบอลิกซินโดรมของพนักงานโรงงานที่เข้ากะ ร้อยละ 20.7  และ ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดเมตาบอลิกชินโดรมได้แก่ เพศการสูบบุหรี่ ประวัติครอบครัวที่เป็นเบาหวาน และไขมันในเลือดสูงที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ p < 0.001, 0.003, 0.001, 0.005</p><p class="BasicParagraph">          ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการดูแลพนักงานเข้ากะควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการเลิกสูบบุหรี่และเฝ้าระวังพนักงานเข้ากะที่มีประวัติครอบครัวเป็นเบาหวานและไขมันในเลือดสูงในการเกิดภาวะเมตาบอลิกซินโดรม</p><p class="BasicParagraph"><strong>คำสำคัญ</strong><strong> :</strong> ความชุก,ปัจจัยเสี่ยง</p><p class="BasicParagraph">*นายแพทย์ชำนาญการพิเศษด้านเวชกรรมป้องกัน : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา</p><p> </p><p style="text-align: center;"><strong>Prevalence and Risk Factor Metabolic Syndrome of Employees Who Work in Shifts in an Electric Component Factory in Nakhon Ratchasima</strong></p><p class="BasicParagraph" align="right"><em>Patipan  Sermsak*</em></p><p class="BasicParagraph" align="center"><strong>ABSTRACT</strong></p><p class="BasicParagraph">          This study aimed to determine the prevalence and the metabolic syndrome risk factor of employees who worked in shifts in an electric component factory in Nakhon Ratchasima province. This study collected information from employees who work in shifts in an electric component factory in Nakhon Ratchasima province in 2014, and consist of 650 people. The sample consisted of 512 employees who worked in shifts in electric component factory in Nakhon Ratchasima province in 2014, attended the annual health check in 2014 and met the criteria of modified metabolic syndrome (NCEP ATPIII). The data were collected and analyzed using frequency, percentage and logistic regression. It showed that 20.7% of employees have metabolic syndrome. The risk factors affecting the metabolic syndrome consisted of gender, smoking, family history of Diabetes, and Hyperlipidemia, with a significance level of p<0.001, p=0.003, p<0.001 and p=0.005, respectively. Suggestions in this study can be used as basic information to take care of the employees who worked in shifts. Smoking should be quitted. The employees who have got a family history of Diabetes and Hyperlipidemia should be monitored closely as they are in the high risk group for metabolic syndrome.</p><p class="BasicParagraph"><strong>Keywords  :</strong>  Prevalence, Risk Factor, Metabolic syndrome</p><p class="BasicParagraph">*specialist doctor of preventive medicine :  The office of disease prevention and control 5 Nakhon Ratchasima</p><p>  </p>}, number={2}, journal={Nursing Journal of The Ministry of Public Health}, author={เสริมศักดิ์ ปฏิพันธ์}, year={2015}, month={Aug.}, pages={157–165} }