TY - JOUR AU - กัลกะ, สุทธานันท์ AU - จันทรา, รุ่งนภา AU - ศรเกษตริน, อติญาณ์ AU - กันสุขเจริญ, อังสินี PY - 2016/04/25 Y2 - 2024/03/28 TI - การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับรูปแบบการเรียน การสอนทางการพยาบาล* JF - Nursing Journal of The Ministry of Public Health JA - NJPH (วารสาร พ.ส.) VL - 26 IS - 1 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tnaph/article/view/57331 SP - 93-108 AB - <p class="BasicParagraph" align="center"><strong><span lang="TH">บทคัดย่อ</span></strong></p><p class="BasicParagraph"><span>      <span lang="TH">การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ</span> 1) <span lang="TH">ศึกษาคุณลักษณะของงานวิจัยที่เกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนทางการพยาบาล และ</span> 2) <span lang="TH">สังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้จากผลการวิจัยที่เกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนทางการพยาบาล โดยรวบรวมข้อมูลงานวิจัยจากฐานข้อมูลต่างๆ ทางอิเล็กทรอนิกส์และการสืบค้นด้วยตนเองตั้งแต่ปี พ</span>.<span lang="TH">ศ</span>. 2547 <span lang="TH">ถึงปี พ</span>.<span lang="TH">ศ</span>. 2557 <span lang="TH">มีงานวิจัยที่ตรงตามเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน</span> 14 <span lang="TH">เรื่อง ผลการสังเคราะห์พบว่า</span> 1) <span lang="TH">งานวิจัยที่เกี่ยวกับการรูปแบบการเรียนการสอนทางการพยาบาลส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยของกระทรวงสาธารณสุข มีการระบุปัญหา วัตถุประสงค์การวิจัย และกรอบแนวคิด แบบแผนการวิจัยเป็นการวิจัยพัฒนา ประชากรและกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล</span>  <span lang="TH">ไม่มีการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่าง ใช้กลุ่มตัวอย่าง</span> 1 <span lang="TH">กลุ่มในการวิจัย วิธีการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการเฉพาะเจาะจง และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ทั้งสถิติบรรยายและสถิติอ้างอิง ซึ่งสถิติร้อยละและสถิติ</span> t-test <span lang="TH">เป็นสถิติที่พบว่ามีการใช้มากที่สุด  </span>2) <span lang="TH">รูปแบบ</span>  <span lang="TH">การเรียนการสอนทางการพยาบาลที่ศึกษามี</span> 4 <span lang="TH">รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นพุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย และเน้นบูรณาการ ซึ่งทั้ง</span> 4 <span lang="TH">รูปแบบสามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ จากการสังเคราะห์สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนทางการพยาบาลได้ อย่างไรก็ตามควรสนับสนุนให้มีการศึกษาในกลุ่มตัวอย่าง</span> 2 <span lang="TH">กลุ่ม มีการวัดผลลัพธ์ระยะติดตามผลให้มากขึ้น</span></span></p><p class="BasicParagraph"><strong><span> </span></strong><strong><span lang="TH">คำสำคัญ</span></strong><strong>  :</strong> <span lang="TH">การเรียนการสอน</span>; <span lang="TH">การสังเคราะห์งานวิจัย</span>; <span lang="TH">การพยาบาล</span></p><p class="BasicParagraph"><em><span>*<span lang="TH">การวิจัยครั้งนี้ได้รับทุนจากสมาคมศิษย์เก่าพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข</span></span></em></p><p class="BasicParagraph"><em><span>**<span lang="TH">วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ</span>; <span lang="TH">อีเมล์ติดต่อ</span> : suthanan_pop@hotmail.com</span></em></p><p class="BasicParagraph"><em><span>***<span lang="TH">วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี</span></span></em></p><p class="BasicParagraph"><em><span>**** <span lang="TH">วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า เพชรบุรี</span></span></em></p><p class="BasicParagraph" align="center"> </p><p class="BasicParagraph" align="center"><strong><span>A Synthesis of Research on Nursing Instruction*</span></strong></p><p class="BasicParagraph" align="right"><em><span>Suthanan Kunlaka**</span></em></p><p class="BasicParagraph" align="right"><em><span>Rungnapa Chantra***</span></em></p><p class="BasicParagraph" align="right"><em><span>Atiya Sornkasatrin***</span></em></p><p class="BasicParagraph" align="right"><em><span>Angsinee Kansukcharean****</span></em></p><p class="BasicParagraph" align="center"><strong><span>Abstract</span></strong></p><p class="BasicParagraph"><span>     The present study aimed 1) to identify the characteristics of instructional models and 2) to summarize and synthesize the knowledge of instructional models in nursing education. The research reports regarding nursing pedagogic models that were published in the year 2004 to 2014 were recruited. A manual search and database search were performed. A total of 240 research studies were collected and 14 research studies were accepted based on the research criteria. Results showed that: 1) the majority of research studies conducted were within the organizations under the Ministry of Public Health; the characteristics of instructional models were identified through research objectives and  conceptual framework, research development, research conducted by student nurses, research with no specific sample size calculation, research conducted as one group, research using purposive sampling and research using t-test statistics for data analyses. 2) The instructional model was divided into four domains which were based on Cognitive, Affective, Psycho- Motor and Integration. Therefore, all the four domains could increase the learning achievement of student nurses. The results from the synthesis of these studies can be used to guide nursing instruction. However, we suggest to conduct future research study using two groups and a longitudinal design.</span></p><p class="BasicParagraph"><strong><span> </span></strong><strong>Keywords </strong> : Instruction; Synthesis of research; Nursing</p><p class="BasicParagraph"><em><span>*This study was funded by The Nurse Alumi Association of the Ministry of Public Health </span></em></p><p class="BasicParagraph"><em><span>**Boromarajonnani College of Nursing Bangkok, E-mail : suthanan_pop@hotmail.com</span></em></p><p class="BasicParagraph"><em><span>***Boromarajonnani College of Nursing Suratthani,</span></em></p><p class="BasicParagraph"><em><span>****Prachomklao College of Nursing, Phetchaburi</span></em><strong></strong></p> ER -