TY - JOUR AU - นพพรพันธุ์, มยุรา AU - อมรกิจภิญโญ, พิมพ์ประภา AU - ณ สุนทร, ธนีนาฎ PY - 2016/08/31 Y2 - 2024/03/28 TI - การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้นำผู้รับใช้เชิงวัฒนธรรมสำหรับ นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน JF - Nursing Journal of The Ministry of Public Health JA - NJPH (วารสาร พ.ส.) VL - 26 IS - 2 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tnaph/article/view/65684 SP - 116-127 AB - <p align="center"><strong>บทคัดย่อ</strong><strong></strong></p><p>                การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมภาวะผู้นำผู้รับใช้เชิงวัฒนธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาลเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยมีวิธีดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอนคือ  1)  การประเมินความจำเป็นในการพัฒนาหลักสูตร  2)การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมพัฒนาภาวะผู้นำผู้รับใช้เชิงวัฒนธรรม 3) การนำหลักสูตรฝึกอบรมไปทดลองใช้และประเมินผลการฝึกอบรม  4) การปรับปรุงหลักสูตรฝึกอบรมกลุ่มตัวอย่างในการทดลองเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเซนต์หลุยส์  จำนวน 30 คนเลือกโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แบบวัดความรู้เกี่ยวกับภาวะผู้นำผู้รับใช้เชิงวัฒนธรรม 2) แบบวัดเจตคติต่อภาวะผู้นำผู้รับใช้เชิงวัฒนธรรมของนักศึกษา  3) แบบประเมินตนเองเกี่ยวกับภาวะผู้นำผู้รับใช้เชิงวัฒนธรรมของนักศึกษา และ 4) แบบประเมินความเหมาะสมของหลักสูตร  โดยมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .71, .78และ .94 ตามลำดับ  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล  คือค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและPaired t-test </p><p>                    ผลการวิจัยพบว่า 1)หลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้นำผู้รับใช้เชิงวัฒนธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาลเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนประกอบด้วยองค์ประกอบภาวะผู้นำผู้รับใช้เชิงวัฒนธรรม 4  มิติ 12 องค์ประกอบ  โดยจัดเป็นหลักสูตรย่อย 4 หลักสูตร สำหรับฝึกอบรมนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1-4  และ 2) ผลการทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้นำผู้รับใช้เชิงวัฒนธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 (หลักสูตรที่ 1)  พบว่า  นักศึกษามีความรู้และเจตคติภายหลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05  และการประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี นักศึกษาประเมินตนเองเกี่ยวกับภาวะผู้นำผู้รับใช้เชิงวัฒนธรรมในภาพรวมทุกองค์ประกอบอยู่ในระดับดี (<img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}" alt="\bar{x}" align="absmiddle" /><em> =4.23</em><em>, </em><em>SD= <strong> .41</strong></em>)</p><p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>:</strong> ภาวะผู้นำผู้รับใช้เชิงวัฒนธรรม; การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม; นักศึกษาพยาบาล; ประชาคมอาเซียน</p><div><p>*คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์  และนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น: อีเมล์ติดต่อ : mayhue87@gmail.com</p></div><p>** คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น</p><p align="center"><strong><br /></strong></p><p align="center"><strong>Development of a Cultural Servant Leadership Training Curriculum for Nursing Students at Saint Louis College in response to  the </strong></p><p align="center"><strong>ASEAN Community </strong></p><p align="right">Mayura  Noppornpanth*</p><p align="right">Pimprapa Amornkitpinyo**</p><p align="right">Taneenart  Na-soontorn**</p><p align="center"><strong>ABSTRACT</strong></p><p>                The objective of this study was to develop a Cultural Servant Leadership Training Curriculum for Nursing Students at Saint Louis College in response to  the ASEAN Community. The study was composed of 4 steps: 1) assessment of the need for training; 2) development of the Cultural Servant Leadership training curriculum; 3) implementation of the curriculum; and 4) evaluation and improvement of the training curriculum. The sample consisted of 30 first year nursing students. The research instruments were composed of 1) knowledge related to cultural servant leadership; 2) attitudes related to cultural servant leadership of nursing students; 3) self-evaluation related to cultural servant leadership of nursing students; and 4) assessment regarding appropriateness of the training curriculum. The reliabilities of the instruments were  0.71, 0.78 and 0.95, respectively. The research utilized a one group pretest – posttest design.  The statistical methods included standard deviation and dependent <em>t</em> – tests.</p><p>                Results revealed that 1) the training curriculum of cultural servant leadership for nursing students in preparation for the ASEAN community consisted of 4 cultural servant leadership perspectives that composed of 12 components. These components were arranged into 4 sub-training curriculum for nursing students 2)  the knowledge and attitude after using the first training curricula were significantly higher than those of before taking this intervention (p&lt;0.05). The total score and each category of appropriateness of the curriculum was high. Self-evaluation related with cultural servant leadership for all aspects of the nursing students was at a good level ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}" alt="\bar{x}" align="absmiddle" /><em> = 4.23</em><em>, </em><em>SD = <strong> 0.41</strong></em>).</p><p><strong>Keyword</strong>s: Cultural Servant Leadership; Development of a training Curriculum; Nursing Students; ASEAN community</p><div><p>*Nursing Faculty Saint Louis College and Student of Doctor of Philosophy Major Educational Administration and Leadership Saint John’s University; e-mail: mayhue87@gmail.com..</p></div><p>** Faculty of Education, Saint John’s University.</p> ER -