@article{ยืนยาว_2021, title={ฤทธิ์ต้านแคนดิดา อัลบิแคนส์ของจุลินทรีย์โพรไบโอติก}, volume={4}, url={https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ttm/article/view/254043}, abstractNote={<p>จุลินทรีย์โพรไบโอติกเป็นที่รู้จักกันดีว่ามีประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างมากมาย ซึ่งโพรไบโอติกส่วนใหญ่เป็นแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในลำไส้ที่มีความสำคัญต่อร่างกาย เช่น ผลิตสารต่าง ๆ และป้องกันการติดเชื้อก่อโรคในลำไส้ รายงานนี้จึงมีความสนใจที่จะทบทวนเกี่ยวกับโพรไบโอติกที่มีคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระและการส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งการบริโภคโพรไบโอติกอาจลดความเสียหายจากการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ โดยภาวะความเครียดออกซิเดชันเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังต่าง ๆ ของมนุษย์ซึ่งเกิดจากการเพิ่มขึ้นของอนุมูลอิสระที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน โดยได้มีการศึกษาทั้งในหลอดทดลองและสัตว์ทดลองที่แสดงให้เห็นว่าโพรไบโอติกมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับสารต้านอนุมูลอิสระที่ได้จากธรรมชาติและมีความปลอดภัยเพื่อทดแทนสารต้านอนุมูลอิสระที่ได้จากการสังเคราะห์จึงได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก ซึ่งในรายงานนี้ได้ทบทวนเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระและกลไกต้านอนุมูลอิสระของโพรไบโอติกเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระของจุลินทรีย์โพรไบโอติกต่อไปในอนาคต</p>}, number={2}, journal={วารสารหมอยาไทยวิจัย}, author={ยืนยาว ลัดดาวัลย์}, year={2021}, month={ต.ค.}, pages={1–18} }