ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาต้านฮอร์โมนชนิดกินของผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านม ในโรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี
บทคัดย่อ
งานวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาต้านฮอร์โมนชนิดกิน และปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาต้านฮอร์โมนชนิดกินของผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านม ในโรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมทุกระยะทั้งเพศชายและหญิง อายุ 18 ปี ขึ้นไป รักษาด้วยยาต้านฮอร์โมนชนิดกิน คัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 50 คน เก็บข้อมูลรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ได้แก่ 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2)แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว 3) แบบสอบถามการรับรู้ความรุนแรงของอาการ 4) แบบสอบถามการรับรู้ความรุนแรงของโรค 5) แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์การรักษา 6) แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้ยา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมมีพฤติกรรมการใช้ยาต้านฮอร์โมนชนิดกินอยู่ในระดับไม่ดี ( =1.99,SD =0.71) และปัจจัยด้านการรับรู้ประโยชน์ของการรักษามีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการใช้ยาต้านฮอร์โมนชนิดกินของผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r= 0.69, p<.05)
This research and development aimed to develop an oral care program. by applying Orem’s self-care theory on providing knowledge, skill training, encourage patients to oral self ’s care .The samples were oral cancer patients who received surgical in Udon Thani Cancer Hospital, 25 cases Tools used oral care program. oral health assessment from and oral care agency. The data was collected from February to May 2023. The data was analyzed with frequency statistics. Percentage and content Analysis method.
The result showed the programs reduce oral health problem. Patients had higher self-knowledge and ability to take care of their oral cavity.
Keywords: oral cancer patients , oral care program, oral health
References
Sung H, Ferlay J, Siegel RL, Laversanne M, Soerjomataram I, Jemal A, Bray F. Global Cancer Statistics 2020:
GLOBOCAN Estimates of Incidence and Mortality Worldwide for 36 Cancers in 185 Countries. CA Cancer J Clin 2021;71:209-49.
World Health Organization. Breast Cancer. [Internet]. [Cited 2021 Oct 10]. เข้าถึงได้จาก: https://www.who.int/newsroom/fact-sheets/detail/breast-cance
โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี. รายงานสถิติโรคมะเร็งโรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี [อินเตอร์เน็ต]. อุดรธานี: โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี [เข้าถึงเมื่อ 28 กรกฎาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://udch.go.th/index.php/21-2021-03-23-07-21-32
ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. โรคมะเร็งเต้านม. นนทบุรี: พี.ซี.เค.ดีไซน์; 2555.
Kimura M, Usami E, Iwai M, Nakao T, Yoshimura T, Mori H, Sugiyama T, Teramachi H. Oral anticancer agent medication adherence by outpatients. Oncol Lett. 2014 Nov;8(5):2318-2324.
ภัคนัฐ วีรขจร, โชคชัย ล้อมทอง, นภชา สิงห์วีรธรรม. การรอดชีพของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังได้รับการรักษาด้วยด้วยยาต้านฮอร์โมนในโรงพยาบาลขอนแก่น. ว. เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2018;7:64-8.
สุวาทินี อินตรี, อรัมษ์ เจษฎาญานเมธา. อัตราการหยุดใช้ยาต้านฮอร์โมนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะเริ่มต้นที่ได้รับยาต้านฮอร์โมนชนิดรับประทาน. ว. เภสัชศาสตร์อีสาน 2019;11:89-4.
ชมพูนุช พัฒนจักร. ความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยสูงอายุโรคเรื้อรัง ในเขตพื้นที่บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาดพัฒนา อำเภอเมืองจังหวัดมหาสารคาม. ว. โรงพยาบาลมหาสารคาม 2019;16:13-22.
World Health Organization. Adherenceto long-term therapies:evidence for action. [Internet]. [Cited 2021 Oct 5]. เข้าถึงได้จาก: https://apps.who.int/iris/handle/10665/42682.
Lee YH, Jeong LS. Factors Inftuencing medication adherence to oral anticancer Drugs Asian. Oncology Nursing 2013;13:201-8.
Grunfeld EA, Hunter MS, Sikka P, Mittal S. Adherence beliefs among breast cancer patients taking tamoxifen.Patient Educ Couns 2005;59:97-102.
บุณฑ์ราตรีส์ วานิชรัตนกุล. ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์ของผู้ป่วยมะเร็งที่ใช้ยาต้านมะเร็งชนิดรับประทานในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ. [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2559.
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. แผนยุทธศาสตร์สถาบันมะเร็งแห่งชาติ พ.ศ. 2563–2565. นนทบุรี: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข;2563.
ศศิธร รุ่งสว่าง. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความร่วมมือในการใช้ยาหลายขนานของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง. ว. พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม 2015;6:6-23.
ประสพชัย พสุนนท์. ความเที่ยงตรงของแบบสอบถามสำหรับงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. ว. สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ 2015;18:375-21.
Devellis, RF. Scale development: theory and applications. 4th ed. Thousand Oaks, CA: Sage; 2017.
สิรัชญา มารักษา, ณิชชาภัทร ชันสาคร, อัจฉรา วรารักษ์, นรีมาลย์ นีละไพจิตร. ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพและการสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่รักษาด้วยเคมีบำบัด. ว.พยาบาลทหารบก.2564;22:435-7.
Pender NJ, Murdaugh CL, Parsons AM. Health promotion in nursing practice. 6th ed. Boston: Julie Levin Alexander; 2011.
อรกมล พูนเสมอ, วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, นารีรัตน์ จิตรมนตรี, อรพรรณ โตสิงห์. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดทักษะในการดูแลตนเอง การสนับสนุนทางสังคมกับความผาสุกในระยะเปลี่ยนผ่านของผู้สูงอายุโรคมะเร็งที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัด. ว.พยาบาลทหารบก 2557;15:368 –9.
ชไมพร ประคำนอก, อาภาวรรณ หนูคง, สมสิริ รุ่งอมรรัตน์. ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับความสม่ำเสมอในการได้รับยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำในผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว. J Nursing Science Journal of Thailand 2020;38:35-39.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุดรธานี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.