การพัฒนาโปรแกรมการดูแลช่องปากสำหรับผู้ป่วยมะเร็งช่องปากที่ได้รับการผ่าตัด

ผู้แต่ง

  • หนึ่งฤทัย แรงน้อย โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี
  • บุษบา สมใจวงษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การศึกษานี้เป็นการวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมการดูแลช่องปาก โดยประยุกต์ทฤษฎีของโอเร็ม เน้นการให้ความรู้ ฝึกทักษะ และสนับสนุนให้ผู้ป่วยดูแลช่องปากด้วยตนเอง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งช่องปากที่ได้รับการผ่าตัดที่โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานีจำนวน 25 ราย เครื่องมือที่ใช้ในประกอบด้วย โปรแกรมการดูแลช่องปาก แบบประเมินสุขภาพช่องปากและความสามารถการดูแลช่องปาก ดำเนินการเก็บข้อมูลช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม 2566 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่ ร้อยละและวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมการดูแลช่องปากช่วยให้สุขภาพช่องปากดีขึ้น ผู้ป่วยมีความสามารถในการดูแลช่องปากด้วยตนเองสูงขึ้นและลดการติดเชื้อแผลผ่าตัดในช่องปาก
คำสำคัญ: ผู้ป่วยมะเร็งช่องปาก โปรแกรมการดูแลช่องปาก สุขภาพช่องปาก

References

World Health Organization.The Glolbocan 2020. [Internet]. [สืบค้นวันที่ 2021 March]. เข้าถึงได้จาก:

https://gco.iarc.fr/today/data/factsheets/populations/764-thailand-fact-sheets.pdf

Thailand-Global Cancer Observatory.The Glolbocan 2020. [Internet]. [สืบค้นวันที่ 2021 March]. เข้าถึงได้จาก: http://gco.iarc.fr>764-thailand-fact-sheets

Montero PH, Patel SG. Cancer of the oral cavity. Surg Oncol Clin N Am. 2015;24:491-508.

Rashid A, Warnakulasuriya S. The use of light-based (optical) detection systems as adjuncts in the detection of oral cancer and oral potentially malignant disorders: a systematic review. J Oral Pathol Med. 2015;44:307-28.

สุทธินี สุดใจ. ความเป็นไปได้ของโปรแกรมการส่งเสริมการฟื้นหายหลังผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งที่ปากและในช่องปาก [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2562.

Coyle MJ, Main B, Hughes C, Craven R, Alexander R, Porter G, Thomas S. Enhanced recovery after surgery (ERAS) for head and neck oncology patients. Clin Otolaryngol 2016;41:118-26.

Ellis MA, Graboyes EM, Wahlquist AE, Neskey DM, Kaczmar JM, Schopper HK, Sharma AK, Morgan PF, Nguyen SA, Day TA. Primary Surgery vs Radiotherapy for Early Stage Oral Cavity Cancer. Otolaryngol Head Neck Surg 2018;158:649-65.

ภัทรวุฒิ วัฒนศัพท์. มะเร็งช่องปาก. ขอนแก่น: ภาควิชาโสตศอนาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2563.

Nair D, Singhvi H, Mair M, Qayyumi B, Deshmukh A, Pantvaidya G, Nair S, Chaturvedi P, Laskar SG, Prabhash K, DCruz A. Outcomes of surgically treated oral cancer patients at a tertiary cancer center in India. Indian J Cancer 2017;54:616-20.

ชัชสุดา ธนอมรพงศ์, สุวิมล กิมปี, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ภาวิน เกษกุล. ความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการการดูแลด้านมะเร็ง สภาพของลิ้น ภาวะโรคร่วม กับภาวะการทำหน้าที่ในช่องปากของผู้ป่วยมะเร็งลิ้นและพื้นปากหลังผ่าตัด.ว. สภาการพยาบาล 2557;29: 67–81.

วันทกานต์ ราชวงศ์. ผลของโปรแกรมการจัดการการดูแลช่องปากด้วยตนเองต่อภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีหรือฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2556.

Huang BS, Wu SC, Lin CY, Fan KH, Chang JT, Chen SC. The effectiveness of a saline mouth rinse regimen and education programme on radiation-induced oral mucositis and quality of life in oral cavity cancer patients: A randomised controlled trial. Eur J Cancer Care (Engl). 2018;27:e12819.

กนกพรรณ งามมุข, ศศิมา กุสุมา ณ อยุธยา, วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล. การดูแลความสะอาดช่องปากในผู้ป่วยวิกฤตเพื่อป้องกันการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ: การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์. วชิรสารการพยาบาล 2559;12: 1–11.

งานเวชระเบียนผู้ป่วย โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี . สถิติรายงานประจำปี 2561-2562 [อินเตอร์เน็ต]. อุดรธานี: งานเวชระเบียนผู้ป่วย โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี [เข้าถึงเมื่อ 2 ตุลาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://www.udch.go.th/thai

Orem, DE, Taylor, SG, Renpenning, KM. Nursing: Concepts of Practice. 6th ed. St. Louis: Mosby; 2001

กาญจนา สาใจ, ศิริลักษณ์ กิจศรีไพศาล, เบญญพร บรรณสาร. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการจัดการด้วยตนเองต่อพฤติกรรมดูแลช่องปากและภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด. ว.โรงพยาบาลสกลนคร 2561;21:42-56.

กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. แนะนำการแปรงฟันแบบ 2-2-2 ปี 2563 [อินเตอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข [เข้าถึงเมื่อ 28 เมษายน 2564]. เข้าถึงได้จาก: …………………………..

สุภาพร พลายบุญ, วราภรณ์ คงสุวรรณ, จินตนา ดำเกลี้ยง. การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพา. ว. พยาบาลสงขลานครินทร์ 2560;40: 37–47.

นงนภัส เด็กหลี, ชนกพร จิตปัญญา. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลช่องปากด้วยตนเองร่วมกับการอมกลั้วปากด้วยน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ต่ออาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับการฉายรังสีหรือร่วมกับเคมีบำบัดแบบผู้ป่วยนอก. ว. มฉก.วิชาการ 2559;20: 81–95.

Sannilom, P. Management of oral cavity cancer [Ducument]. Bangkok: Rajavithi Hospital, Rangsit University; 2019.

Mohamed R. Evidence-based practice in nursing & Health care: Guide to best practice. Philadephia:

Lippincitt ill William; 2016.

อัมไพวรรณ พวงคำหยาด, รัชนี นามจันทรา, วารินทร์ บินโฮเซ็น. ผลของโปรแกรมการดูแลช่องปากต่อความสามารถในการดูแลช่องปากและภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด. ว. พยาบาลสภากาชาดไทย 2560;10: 57–73.

Winn DM, Lee YC, Hashibe M, Boffetta P; INHANCE consortium. The INHANCE consortium: toward a better understanding of the causes and mechanisms of head and neck cancer. Oral Dis. 2015;21:685-93

Shi M, Han Z, Qin L, Su M, Liu Y, Li M, Cheng L, Huang X, Sun Z. Risk factors for surgical site infection after major oral oncological surgery: the experience of a tertiary referral hospital in China. J Int Med Res. 2020;48:300060520944072. doi: 10.1177/0300060520944072.

ทรรศนีย์ นครชัย. ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและลำคอที่ได้รับรังสีรักษา [วิทยานิพนธ์]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2564.

เผยแพร่แล้ว

2023-12-30