การประเมินผลนวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคไข้เลือดออก ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจังหวัดมหาสารคาม
บทคัดย่อ
การศึกษานี้เพื่อประเมินผลนวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคไข้เลือดออกในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ดำเนินการ 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 พัฒนานวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคไข้เลือดออกให้เหมาะกับบริบทของ รพ.สต. ขั้นตอนที่ 2 นำนวัตกรรมฯไปใช้ ขั้นตอนที่ 3 ประเมินผล กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยเด็กที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก 35 คน และเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ในจังหวัดมหาสารคาม 15 คน เก็บข้อมูลระหว่างเดือนเมษายน- มิถุนายน 2566 เครื่องมือวิจัย คือ แบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วยเด็กของเจ้าหน้าที่ แบบประเมินความเป็นไปได้และความพึงพอใจของการนำนวัตกรรมไปใช้
ผลการวิจัยพบว่าได้นวัตกรรม 1) แผ่นอ่านผล Tourniquet test 2) สื่อความรู้เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก 3) แผ่นพับโรคไข้เลือดออก 4) แบบบันทึกของเจ้าหน้าที่ เมื่อนำนวัตกรรมไปใช้ อาการที่พบมากคือ มีไข้ หน้าแดง ปวดศีรษะ ร้อยละ 61.82 การตรวจ Tourniquet test วันแรกของการมีไข้ พบผลเป็นบวกร้อยละ 20 มีอาการขาดน้ำร้อยละ 58.33 จำเป็นต้องให้ดื่ม ORS เพื่อป้องกันขาดน้ำร้อยละ 40 ดื่มORS ได้ตามกำหนดร้อยละ 100 จำเป็นต้องส่งตัวผู้ป่วยไปโรงพยาบาลร้อยละ71.43 การวินิจฉัยโรคสอดคล้องกับโรงพยาบาลร้อยละ 100 ไม่จำเป็นต้องนอนโรงพยาบาลร้อยละ 100 ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ส่วนการประเมินความเป็นไปได้และความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.60 SD = 0.91และ x̅ = 4.70 SD = 0.72)
References
(1) ศิริเพ็ญ กัลยาณรุจ, มุกดา หวังวีรวงศ์, วารุณี วัชรเสวี. แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคไข้เลือดออกเดงกี ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษามหาราชินี. กรุงเทพฯ: สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กระทรวงสาธารณสุข; 2556.
(2) สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค. คู่มือวิชาการโรคติดเชื้อเดงกีและโรคไข้เลือดออกเดงกีด้านการแพทย์และสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2558.
(3) พวงทอง ไกรพิบูลย์. ภาวะขาดน้ำ [อินเตอร์เน็ต] 2563[เข้าถึงเมื่อ 2566 มีนาคม1]. เข้าถึงได้จาก: https://haamor.com
(4) กฤตนุ นาคแท้, กอปรชุษณ์ ตยัคคานนท์. แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับผู้ป่วยนอกในหน่วยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาลสงขลานครินทร์. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. [อินเตอร์เน็ต] 2555 [เข้าถึงเมื่อ 2566 มีนาคม4]. เข้าถึงได้จาก: dengue.pdf (psu.ac.th)
(5) โรงพยาบาลมหาสารคาม. รายงานผลการดำเนินการหอผู้ป่วยเด็กโตประจำปี 2558. มหาสารคาม: โรงพยาบาลมหาสารคาม; 2558.
(6) ชูวงศ์ คชสาร, อัจฉรา มีนาสันติรักษ์. การประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลและนวัตกรรมการพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคไข้เลือดออก หอผู้ป่วยเด็กโต โรงพยาบาลมหาสารคาม. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2561;27(2):299-312.
(7) ชูวงศ์ คชสาร. ประสิทธิผลของนวัตกรรม scale IV และวงล้อการปรับระดับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม 2560;14(2):11-21.
(8) โรงพยาบาลมหาสารคาม. รายงานผลการดำเนินการหอผู้ป่วยเด็กโตประจำปี 2562. มหาสารคาม: โรงพยาบาลมหาสารคาม; 2562.
(9) โรงพยาบาลมหาสารคาม. รายงานผลการดำเนินการหอผู้ป่วยเด็กประจำปี 2566. มหาสารคาม: โรงพยาบาลมหาสารคาม; 2566.
(10) Muy Computer. Corel draw คืออะไร: มีไว้เพื่ออะไรและข้อกำหนด. [อินเตอร์เน็ต] 2563 [เข้าถึงเมื่อ 2566 มีนาคม4]. เข้าถึงได้จาก: https://www.creativosonline.org/th/corel-draw-%
(11) A1 Blog. การตัดด้วยเลเซอร์คืออะไร[อินเตอร์เน็ต] 2564 [เข้าถึงเมื่อ 2566 มีนาคม4]. เข้าถึงได้จาก: https://a1w.in.th/th/blog/tutorial/2103-Laser/
(12) Mac and Windows. G*Power Statistical Power Analysis version 3.1.9.7 [Internet]. 2020 [cited 2023 Mar. 10]. Available from: https://www.psychologie.hhu.de/arbeitsgruppen/allgemeine-psychologie-und-arbeitspsychologie /gpower
(13) Holliday MA, Segar WE. The maintenance need for water in parenteral fluid therapy. Pediatrics 1957;19(5):823-32.
(14) กรมควบคุมโรค. รายงานพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ฉบับที่ 8 ปี 2566. [อินเตอร์เน็ต] 2566 [เข้าถึงเมื่อ 2566 มีนาคม 10] เข้าถึงได้จาก: https://www.hfocus.org/content/2023/03/27198
(15) Siddharth Bhave, C. Rajput, Sudha Bhave. Clinical profile and outcome of Dengue fever and dengue hemorrhagic fever in pediatric age group with special reference to WHO guideline on fluid management of dengue fever. International Journal of Advanced Research 2015;3(4):196-201
(16) สำนักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา. แนวทางการดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออกตามมาตรการ 3-3-1. นครราชสีมา: เขตสุขภาพที่ 9; 2558.
(17) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน : กรณีความร่วมมือของอำเภอลานสกาและหน่วยวิจัยและบริการวิชาการโรคไข้เลือดออก พ.ศ. 2556-2560. [อินเตอร์เน็ต] 2560 [เข้าถึงเมื่อ 2566 มีนาคม 9] เข้าถึงได้จาก: https://www.wu.ac.th/th/news/12391
(18) โรส ภักดีโต, จุไร อภัยจิรรัตน์. โรคไข้เลือดออกเดงกีในเด็ก : บทบาทสำคัญของพยาบาล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย 2560;10(1):55-65.
(19) WHO SEARO. Comprehensive Guidelines for the Prevention and Control of Dengue and Dengue Hemorrhagic Fever. Revised and Expanded Edition; 2011.
(20) สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือคุณภาพมาตรฐานบริการสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2566. กรุงเทพฯ : สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์; 2565
(21) วาร์ธินีย์ แสนยศ, วนิดา ยืนยง, นวรัตน์ กล่ำทองกูล. บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคไข้เลือดออก. วารสารพยาบาล 2564;70(3):49-56.
(22) ชลิต เกตุแสง. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของประชาชน อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. 2558;2(1):24-36.
(23) Nino Hasanica et al. The Effectiveness of Leaflets and Posters as a Health Education Method. Journal of the academy of medical sciences of Bosnia and Herzegovina. 2020;32(2):135–9.
(24) กาญจนา ปัญญาธร, รจนา วรวิทย์ศรางกูร, ณัฏฐกุล บึงมุม, เอกสิทธิ์ โสดาดี. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก บ้านเชียงพิณ ตำบลเชียงพิณ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2563;38(3):147-56.
(25) เสาวลักษณ์ ศรีดาเกษ, ยลฤดีตัณฑสิทธิ์, ธีรศักดิ์ พาจันทร์, จิรพงศ์ วสุวิภา. การพัฒนารูปแบบการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของชุมชน อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2562;6(1):26-38.
(26) รุ่งวิภาษ์พร เอี้ยวกฤตยากร, ภาวิตา วิภวกานต์, อรกมล จิรกิจประภา, ศรีสุดา เกษศรี, รณวีร์ ยอดวารี, ผกาทิพย์ ทองพลา. การพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต. วารสารวิชาการแพทย์ 2561; 32(2):1105-14
(27) วาธินีย์ แสนยศ, วนิดา ยืนยง. บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคไข้เลือดออก. วารสารพยาบาล 2564; 70(3): 49-56.
(28) กมลวิช เลาประสพวัฒนา. การติดเชื้อไวรัสเดงกีจากทฤษฎีสู่ปฏิบัติ. สงขลา : ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2560.
(29) วินัย รัตนสุวรรณ. ไข้เลือดออกป้องกันได้ แต่ถ้าเป็นแล้วล่ะ. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล [อินเตอร์เน็ต] 2558 [เข้าถึงเมื่อ 2566 มีนาคม 9] เข้าถึงได้จาก: https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=780
(30) สุภางภัทร์ พรหมอยู่. การพยาบาลผู้ป่วยไข้เลือดออก : กรณีศึกษา. วารสารวิจัยและวิชาการสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร. 2563;1(1): 86-90.
(31) สุนิดา อรรถอนุชิต, วิภา แซ่เซี้ย, ประณีต ส่งวัฒนา. การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการประเมินสภาพแรกรับของผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหลายระบบที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอุบัติเหตุ. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2553; 2(2): 16-28.
(32) ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2556.
(33) สิน งามประโคน, เกษม แสงนนท์, พระมหาสมบัติ ธนปัญฺโญ. นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2561.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 1970 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุดรธานี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.