อาการผิดปกติทางโครงร่างและระบบกล้ามเนื้อ และกิจกรรมทางกายขณะทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ผู้ให้บริการในช่วงสถาการณ์แพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ผู้แต่ง

  • นันทวัน เทียนแก้ว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • มณีนุช สุวรรณมาตย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • พัชรินทร์ ปรึกษากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • สุชานันท์ ป้อมบุบผา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • กัญญารัตน์ พันธ์ทอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ศรัณญ่า ศรีสุวรรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

อาการผิดปกติทางโครงร่างและระบบกล้ามเนื้อ, กิจกรรมทางกายขณะทำงาน, บุคลากรทางการแพทย์

บทคัดย่อ

       การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาอาการผิดปกติทางโครงร่างและระบบกล้ามเนื้อและกิจกรรมทางกายขณะทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ ในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการแพทย์จากศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี รวม 198 คน อายุตั้งแต่ 25-60 ปี เพศชายและหญิง มีระยะเวลาการทำงานไม่น้อยกว่า 6 เดือน โดยทำการส่งแบบสอบถามในรูปแบบฟอร์มออนไลน์ ให้แก่กลุ่มตัวอย่างใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ทำงานโดยการก้มศีรษะมากกว่า 30 นาที ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.32 และพบอาการเจ็บปวดกล้ามเนื้อที่ระดับความเจ็บปวดเล็กน้อย บริเวณตำแหน่งไหล่ด้านหน้า ร้อยละ 49.0 ไหล่ด้านหลังร้อยละ 45.1 และคอด้านหลัง ร้อยละ 41.2 พบมากในกลุ่มงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งอาการเจ็บปวดที่เกิดขึ้นล้วนเกิดจากพฤติกรรมและกิจกรรมทางกายของลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติในแต่ละกลุ่มงาน หน่วยงานต้นสังกัดจึงควรมีการกำหนดนโยบายทางด้านสุขภาพต่อบุคลากรในหน่วยงาน เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการมีกิจกรรมทางกายและการป้องกันอาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ และควรส่งเสริมให้บุคลากรมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นเพื่อลดอาการผิดปกติได้

References

Chanmanee, N., Theptrakanporn, S. and Piriyaprasat, P. (2014). Problems of muscle aches from the work of hand weaving occupation groups in the upper northern region of Thailand. Journal of Safety and Health, 7(24), 29-40.

Choupirat, N. (2016). A Study of Prevalence and Functional Factors Associated with Skeletal and Muscular Disorders in Personnel of Thammasat University Hospital. Master of Public Health Thesis, Thammasat University.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. SAGE Journal, 30(3), 607-610. Retrieved August, 8, 2021 from https://doi.org/10.1177.001316447003000308

Lindberg, C. M., Srinivasan, K., Gilligan, B., Razjouyan, J., Lee, H., Najaf, B., et al. (2018). Effects of office workstation type on physical activity and stress. Occupational and Environmental Medicine, 10(8), 0-7

Munkit, Y. and Samaneeinthorn, K. (2018). A study of skeletal and muscular aches of fruit wholesalers at Charoensri Market. Warin Chamrap District Ubon Ratchathani Province. Science and Technology Journal Ubon Ratchathani University, 20(3), 180-186.

Pirom, and Worachetwarawat, P. (2012). A Study of Seated Fatigue of Sewing Workers in the Garment Industry. Industrial Engineering Network Academic Conference 2012, Cha-am, Phetchaburi.

Shini, N., Ahmadmusa, A. and Phongratanaman, K. (2020). Prevalence and factors associated with neck, shoulder and back pain among dental personnel in government health care facilities, Yala Province. Journal of Dental Hygiene, 31(2), 17-18.

Silamad, S. (2014). Physical activity for good health. Bangkok: Printing House of Chulalongkorn University.

Taweephiriyachinda, S., Jamulitrat, S. and Sungkapong, A. (2015). Dangerous posture and prevalence of musculoskeletal disorders. related to work in Narathiwat Rajanagarindra Hospital workers. KKU Research Journal, Science and Technology Branch, 15(2), 81

Sarah,E.S.N., Carolyn,G., Palu,D., & Kristin, C. (2016). Physical activity, physical fitness, and body composition of Cancdian shift workers: Data from the Canadian health measures survey cycles 1 and 2, Journal of Occupational and Environment Medicine, 58(1), 94-100.

WHO expert consultation. (2004). Appropriate body-mass index for Asian populations and its implications for policy and intervention strategies. The Lancet Public Health 2004; 363(9403): 157-163. Retrieved from

https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S0140673603152683?via%3Dihub

World Health Organization. (2020). WHO guidelines on physical activity and sedentary behaviour. Retrieved from https://www.who.int/publications/i/item/9789240015128

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-27